protest-2-1
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ: กรุงเทพฯสีฟ้า นำร่องท่องเที่ยว จัดชุมนุมได้ ถ้าไม่ใช่แออัด หรือก่อความไม่สงบ

นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 มีการจัดชุมนุมสาธารณะอย่างน้อย 10 ครั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แทบทุกครั้งตำรวจและฝ่ายความมั่นคงยังพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อห้ามไม่ให้มีการชุมนุม โดยอ้างว่าก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการแพร่โรค และนำไปสู่ปฏิบัติการปิดกั้นขัดขวางการใช้เสรีภาพในการชุมนุมของประชาชน อย่างไรก็ดี ตามคำสั่ง ศบค.
photo_2021-12-24_12-02-19
อ่าน

กสม. ชี้รัฐปราบปรามละเมิดสิทธิผู้ชุมนุม ใช้อาวุธขัดหลักสากล

  24 ธันวาคม 2564 เวลา 10.30 น. คณะกรรมสิทธิมนุษยชนแห่งชาติแถลงรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่สำคัญประจำปี 2564 กรณีการชุมนุมทางการเมืองระหว่างเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2564 ซึ่ง กสม.
51597880082_9f24ddf3a7_h
อ่าน

Live Real: สื่ออิสระของคนดินแดง เพื่อคนดินแดง โดยคนดินแดง

การปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจที่บริเวณดินแดง เกือบจะกลายเป็น “เรื่องปกติ” (ที่ผิดปกติ) ในสังคมไทย กล่าวคือ สถานการณ์การชุมนุมในพื้นที่ที่เรียกขานกันว่า “ย่านดินแดง” กลับไม่เป็นที่สนใจของบรรดาสื่อมวลชนและประชาชนมากนัก แม้ว่าในการชุมนุมเกือบจะทุกครั้ง จะมียังมีรายงานเกี่ยวกับการใช้ความรุนแรงเกินกว่าเหตุโดยเจ้าหน้าที่รัฐ หรือมีรายงานผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจและผู้ชุมนุม รวมถึงมีรายงานความเสียหายของทรัพย์สินราชการและเอกชน ท่ามกลางความเป็นแดนสนธยาของพื้นที่ที่เรียกว่า “ดินแดง” ยังมีสื่อพลเมืองอยู่จำนวนหนึ่งที่คอยเกาะติดสถานการณ์การชุมนุมไม่
51561975808_08e3b25fe6_k
อ่าน

เมื่อพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่จะใช้คุมโรค กลายเป็นเครื่องมือดำเนินคดีปิดปากเยาวชน

ปี 2563-2564 เป็นช่วงที่เยาวชนคนรุ่นใหม่ลุกขึ้นมาแสดงออกอย่างเข้มข้ม ทั้งการตั้งคำถามต่อระบบการศึกษา กฎระเบียบในโรงเรียน และประเด็นโครงสร้างทางการเมืองที่เป็นอนาคตของพวกเขา แม้พวกเขายังอายุไม่ถึง 18 ปี ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง แต่ก็มีสิทธิที่จะแสดงออกและมีส่วนร่วมทางการเมือง ซึ่งทุกคนต้องช่วยกันคุ้มครองสิทธินี้ และหากมีการกระทำบางอย่างที่ฝ่าฝืนกฎหมายบางข้อ ก็ต้องดำเนินคดีด้วยกระบวนการสำหรับเด็ก ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขเยียวยา ให้โอกาสเรียนรู้ ไม่ใช่มุ่งเอาผิดลงโทษ สิทธิของเด็กในการมีส่วนร่วมทางการเมือง ถูกรับรองไว้ใ
CoverRight
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิผู้บริโภคถดถอย การจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภคยังไร้หวัง

รัฐธรรมนูญ 2560 ให้การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคเป็น “หน้าที่ของรัฐ” ตัดสิทธิของผู้บริโภคในการร้องเรียนและได้รับเยียวยาจากความเสียหายออก สิทธิของประชาชนในการรวมตัวจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภคยังคงอยู่ แต่ไม่ถึงขั้นบังคับให้ต้องเกิดขึ้นให้ได้
gst-main_gj_240315_pg02_geraldine_1_zps0nn0neqs
อ่าน

เสรีภาพราคาแพงในมาเลเซีย

มองจากสายตาคนนอก มาเลเซียเป็นประเทศที่เศรษฐกิจและสังคมเจริญเติบโตไม่น้อย บ้านเมืองสะอาดสะอ้าน การคมนาคมขนส่งโดยเฉพาะในเมืองหลวงอย่างกรุงกัวลาลัมเปอร์ก็สะดวกสบาย มีระบบรถไฟฟ้าราคาย่อมเยาครอบคลุมทั่วเมือง อาจกล่าวได้ว่านอกจากสิงคโปร์เเล้ว มาเลเซียคืออีกหนึ่งประเทศที่มีความก้าวหน้ากว่าประเทศอื่นในภูมิภาคอาเซียน      ตึกปิโตรนาสยามค่ำคืน แต่สำหรับคนที่โหยหาในเ