prasitchai noonuan
อ่าน

สัมภาษณ์ประสิทธิ์ชัย หนูนวล ในวันที่ กฟผ. ไล่ฟ้องคนค้านโรงไฟฟ้าถ่านหิน

นักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม รับทราบข้อกล่าวหาในคดีที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวหาเขาในข้อหาหมิ่นประมาทจากการโพสต์วิจารณ์โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ จ.กระบี่ ไอลอว์ถามต่อเรื่องการเคลื่อนไหวในยุคที่ประชาชนต้องร่วมจ่ายความมั่นคงทางพลังงานด้วยเสรีภาพ
Chatchawan Suksomjit
อ่าน

รวมความเห็นคนร่าง #พรบคอม ย้ำ ไม่ให้ใช้ฟ้องหมิ่นประมาทแล้ว

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ฉบับใหม่ มีผลใช้แล้ว โดยมีเนื้อหาหลายส่วนดูจะเปิดกว้างให้ดำเนินคดีต่อการแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น ขณะที่คนร่างกฎหมายเอง ยืนยัน แก้ไขครั้งนี้ห้ามเอามาใช้กับหมิ่นประมาทเด็ดขาด จึงรวมปากคำคนร่างเอาไว้ เผื่อใครจะใช้เป็นหลักฐานเพื่อต่อสู้คดี
28574278904_b36d162a6f_z
อ่าน

A false dawn: No sign of progress despite ISOC’s dropping of charges against 3 HRDs

On May 17, 2016, the military’s Internal Security Operations Command (ISOC) Region 4, which is responsible for national security operations in the southern border, filed a criminal complaint in Yala against human rights defenders (HRDs)
Kanatip
อ่าน

ประสานเสียงอัด มาตรา 14 พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ใช้ผิดเจตนารมณ์ กระทบเสรีภาพออนไลน์

นักกฎหมายชี้ การใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) ฟ้องคดีหมิ่นประมาทนั้นผิดเจตนารมณ์ สร้างผลกระทบต่อจำเลย เสนอตัดเรื่องนี้ออกจาก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เลย SEAPA ระบุ การผลักภาระให้จำเลยพิสูจน์ว่าข้อมูลส่วนไหนเท็จหรือจริง ทำให้นักข่าวทำงานยาก
"ปฏิบัติการตบปากด้วยกฎหมาย" เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ
อ่าน

“ปฏิบัติการตบปากด้วยกฎหมาย” เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ

"การตบ" เป็นการกระทำแบบหนึ่งที่เราอาจจะพบเห็นได้ในหนัง ละคร หรือแม้แต่ชีวิตจริง แต่ทว่ายังมีการตบบางประเภทที่รุนแรงกว่าการทำร้ายเนื้อตัวร่างกายและอาจจะต้องใช้สายตาสังเกตให้ลึกกว่าปกติ นั่นก็คือ สแลป (SLAPP) หรือการตบปากด้วยกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจสอบ

สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก

ปี 2557 กฎหมายหมิ่นประมาทและพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ยังเป็นอาวุธที่ทั้งภาครัฐและเอกชนใช้เพื่อปิดกั้นหรือตอบโต้กับเรื่องราวที่ไม่อยากได้ยิน ในปีนี้มีกรณีที่การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน หรือให้ความเห็นทางวิชาการ วิพากษ์วิจารณ์ประเด็นที่เป็นประโยชน์สาธารณะเป็นเหตุให้ถูกฟ้องคดีหมิ่นประมาทหลายกรณี 
อ่าน

มองบรรทัดฐานจากศาล ในคำพิพากษาคดีสมยศ

สมยศ พฤกษาเกษมสุข ถูกตัดสินจำคุก 10 ปี ตามมาตรา112  เพราะเป็นบรรณาธิการนิตยสารที่ตีพิมพ์บทความสองบท คำพิพากษาของศาลบอกเราว่า ข้อความใด“หมิ่นฯ”หรือไม่นั้นโจทก์และจำเลยต้องนำสืบ และศาลยืนยันว่าบรรณาธิการสิ่งพิมพ์ต้องรับผิดในเนื้อหา
อ่าน

แดงรุดหน้า ล่าหมื่นชื่อยกเลิกม.112

เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 เนื่องในวันครบรอบ 1 ปีเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 92 ศพ กลุ่มคนเสื้อแดงจึงจัดงานรำลึกถึงผู้เสียชีวิตบริเวณสี่แยกราชประสงค์ ขณะที่เครือข่ายประชาธิปไตยก็จัดกิจกรรมบริเวณลานลานพระบรมรูป ร.6 สวนลุมพินี และในกิจกรรมมีการตั้งโต๊ะให้ประชาชนมาลงชื่อเพื่อยกเลิกกฎหมายอาญามาตรา 112 ด้วย
อ่าน

คณะนิติราษฎร์เสนอ ยกเลิกมาตรา 112 แก้ไขเพิ่มเติมม.หมิ่นฯ

เมื่อวันที่ 27 มี.ค. 54 คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อันได้แก่ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ธีระ สุธีวรางกูร สาวตรี สุขศรี และปิยบุตร แสงกนกกุล ได้แถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาท