53220088185_1dc88a52a6_o
อ่าน

สถิติผู้ต้องขังทางการเมืองในช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล

ประเด็นเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาปากท้องของประชาชนและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 ถูกจัดเป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่นำโดยเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย เป็นผลให้ประเด็นเหล่านี้ตกอยู่ในความสนใจของสังคมอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งสำคัญไม่น้อยไปกว่าประเด็นปัญหาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเรื่อง “สิทธิประกันตัว” ของผู้ที่ถูกคุมขังจากการแสดงออกทางการเมืองซึ่งยังคงอยู่ในเรือนจำกลับค่อยๆ ได้รับการพูดถึงน้อยลง สวนทางกับสถานการณ์ที่น่าห่วงกั
52516521204_fcfc2e8ca1_o
อ่าน

RECAP เสวนา 112 Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 ที่สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไอลอว์จัดกิจกรรมเปิดตัวหนังสือ “Never Stop คนและคดียังไปต่อ” มีวงสนทนากับผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรา 112 “Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน”  โดยมีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเป็นจำเลยคดีมาตรา 112 ได้แก่ สุริยศักดิ์ ฉัตรพิทักษ์กุล อดีตแกนนำนปช.
52514161504_363862f4da_o
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “เพชร ธนกร” คดีปราศรัย #ม็อบ6ธันวา ก่อนพิพากษา

ตัวเลข 20 คือจำนวนคดีมาตรา 112 ที่มีผู้ต้องหาเป็นเยาวชน ภายหลังการประกาศแถลงการณ์ของนายกรัฐมนตรีว่าจะนำกฎหมาย “ทุกฉบับทุกมาตรา” กลับมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนอีกครั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 ส่งผลให้นี่เป็น “ครั้งแรก” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีการนำกฎหมายมาตราดังกล่าวซึ่งมีโทษสูงสุดถึง 15 ปี มาบังคับใช้กับเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี  ภาพของนักเรียนมัธยมผูกโบขาวชูสามนิ้วระหว่างเคารพธงชาติที่ถูกเผยแพร่ในช่วงปี 2563 คือหลักฐานยืนยันว่า กระแสความตื่นตัวทางการเมืองในช่วงเวลานั้นเกิดขึ้นในหมู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ โดยหลายคนที่อา
52498923709_0f58072590_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดีทนายอานนท์ ปราศรัยม็อบแฮร์รี่ 1

(1) “อานนท์ นำภา” เริ่มเข้าร่วมขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนมาตั้งแต่สมัยยังเป็นนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ต่อมา ภายหลังการรัฐประหาร 2557 เขาเป็นหนึ่งในทีมทนายของ “ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน” และว่าความให้กับจำเลยคดีการเมืองหลังรัฐประหารหลายคดี เช่น คดีฝ่าฝืนคำสั่งรายงานตัวของ คสช.
52497973212_d88d40a7c5_o
อ่าน

Recap : วรเจตน์ ฝากนักกฎหมายในระบบราชการ ยึดหลักวิชาชีพจะบรรเทาวิกฤติ 112

13 พฤศจิกายน 2565 ที่ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มูลนิธิสิทธิอิสรา จัดเสวนาสาธารณะหัวข้อ “112 กับ สถาบันกษัตริย์ : 1 ทศวรรษเพื่อการทบทวน” โดยศาสตราจารย์วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหนึ่งในอาจารย์กลุ่ม “นิติราษฎร์” ที่ผลิตชุดข้อเสนอเพื่อการรณรงค์แก้ไขประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112  ปลายปี 2564 ข้อเสนอ “ยกเลิก 112” ถูกจุดขึ้นท่ามกลางบรรยากาศที่มาตรา 112 ถูกนำมาใช้กับผู้ชุมนุม หลายคดียังเดินหน้าไปตามกระบวนการ ในปี 2565 หลายคดียังไม่มีทิศทางชัดเจนว่าจะเป็นอย่างไร ในขณะที่ข้อเสนอ
52496762493_f9a9240762_o
อ่าน

คดี กรรม และนักร้องมือฉมัง: รวมสถิติสุดช็อก 2 ปีของการใช้ “มาตรา 112”

พุทธศักราช 2363-2565 คือช่วงเวลาที่มีผู้ถูกตั้งข้อหา “มาตรา 112” มากที่สุดในประวัติศาสตร์ จากการเก็บข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน นับตั้งแต่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศจะใช้กฎหมาย “ทุกมาตรา” เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2563 นับเป็นเวลาประมาณ 2 ปี จนถึง 14 พฤศจิกายน 2565 มีผู้ถูกดำเนินคดีมาตรา 112 อย่างน้อย 217 คน ใน 236 คดี  สาเหตุที่จำนวนของ “คน” และ “คดี” ไม่เท่ากัน เพราะว่า มนุษย์ 1 คน ถูกตั้งข้อหาได้มากกว่า 1 คดี แต่ถ้าหากใครจะคิดว่า “อย่างมากก็แค่โดน
52483440738_101e41fb9c_o
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “ต้มจืด” คดีโพสต์ข้อความวิจารณ์สถาบันฯ-ประชดกลุ่มรักเจ้า ก่อนพิพากษา

พรุ่งนี้จะพิพากษาแล้ว!! ชวนเปิดแฟ้มคดี ต้มจืด โพสต์ข้อความวิจารณ์สถาบันฯ-ประชดกลุ่มรักเจ้า ในกลุ่มเยาวชนปลดแอก (1) “พี่เชื่อไหม ถ้าผมไม่โดนคดี ป่านนี้ผมคงเลิกสนใจการเมืองไปแล้ว เพราะผมไม่ใช่คนอินการเมืองอะไรขนาดนั้น” คือคำบอกเล่าของสุทธิเทพ หรือต้มจืด ชาวอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี วัย 24 ปี ผู้ต้องหามาตรา 112 ที่กำลังจะมีคำพิพากษาในเช้าวันลอยกระทง 8 พฤศจิกายน 2565 เวลา 9.00 น.
52374178378_6755de06aa_o
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “บุญลือ” คดีคอมเมนต์เฟซบุ๊กเรื่องปฏิรูปกษัตริย์ ก่อนพิพากษา

เนื่องจาก #มาตรา112 อยู่ในหมวดความผิดเกี่ยวกับ “ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร” กฎหมายจึงอนุญาตให้ “ใครก็ได้” ที่พบเห็นการกระทำและสงสัยว่าเป็นการกระทำความผิด ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้เสียหายเอาพฤติการณ์ไปแจ้งเพื่อให้ตำรวจดำเนินคดีได้เลย ดังนั้น คดีจำนวนไม่น้อยจึงริเริ่มขึ้นใน “สถานีตำรวจที่ผู้กล่าวหาสะดวก” ส่งผลให้ผู้ถูกกล่าวหาต้องแบกรับภาระในการเดินทางไปเข้ารวมกระบวนการพิจารณาคดี ณ จังหวัดที่ได้มีการไปกล่าวโทษไว้ คดีของ “บุญลือ” เป็นหนึ่งในนั้น “บุญลือ” เป็นชื่อสมมติ
52357085749_9b6edcf058_o
อ่าน

10 ข้อ สนับสนุน #ยกเลิก112 ทุกคนช่วยกันทำได้ทุกวัน

ท่ามกลางบรรยากาศความน่ากลัวของการบังคับกฎหมายที่มีขอบเขตไม่ชัดเจน จำนวนคดีที่เพิ่มขึ้นแทบจะทุกวันและดูเหมือนไม่มีที่สิ้นสุด ตลอดจนคำพิพากษาให้จำคุกที่ทยอยออกมาเรื่อยๆ ก่อนที่สังคมจะดำดิ่งไปสู่ความจำนนต่อสถานการณ์ ไอลอว์ชวนดูทางเลือก 10 ข้อ อยากสนับสนุน #ยกเลิก112 ทำอะไรได้บ้าง?
52296599150_0cd71cd12c_o
อ่าน

นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

จนถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 29 คน  นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ในช่วงเวลานี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่ (1) ช่วงเดือนตุลาคม 2563 (2) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 (3) ช่วงเดือนสิงหาคม 2564  (4) หลังการทยอยปล่อยตัวแกนนำราษฎรเมื่อเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2565 ไม่นานนัก “คำสั่งคุมขัง” ก็กลับมาอ