Senate vote no NACC candidate
อ่าน

ส.ว. ไม่เห็นชอบ ศ.อารยะ นั่งเก้าอี้ป.ป.ช. แทนตำแหน่งที่ว่างมากว่า 8 เดือน

1 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมวุฒิสภา “ไม่เห็นชอบ” ให้ศาสตราจารย์อารยะ ปรีชาเมตตา ดำรงตำแหน่งกรรมการป.ป.ช. ด้วยคะแนนเสียงไม่ให้ความเห็นชอบ 146 เสียง ให้ความเห็นชอบ 38 เสียง ไม่ออกเสียง 14 เสียง 
4-5@2x-100
อ่าน

ส.ว. แต่งตั้ง: ผู้นำเหล่าทัพ รับเงินจากสภาและกองทัพ แต่มาลงมติในสภาไม่ถึง 7%

จากการตรวจสอบการทำงานของ ส.ว. ผู้นำเหล่าทัพ ในสมัยการประชุมสามัญครั้งที่ 2 ปีที่ 3 ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2564 ถึง กุมภาพันธ์ 2565 พบว่า บรรดาผู้นำเหล่าทัพไม่ได้เข้าร่วมการประชุมเพื่อลงมติจำนวนมาก กล่าวคือ มีการเข้าร่วมการประชุมเพื่อลงมติไม่ถึง 7% ทั้งที่บรรดา ส.ว. ผู้นำเหล่าทัพ ต่างได้รับค่าตอบแทนทั้งจากสภาและกองทัพ รวมแล้วไม่น้อยกว่าสองแสนบาทต่อเดือน
52167031076_200658a4db_o
อ่าน

สภาหุ่นยนต์! ส.ว.แต่งตั้ง ผ่านกฎหมายอย่างน้อย 40 ฉบับ โหวตทางเดียวกันไม่แตกแถวถึง 98%

ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 วุฒิสภาในฐานะอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติมีหน้าที่สำคัญประการหนึ่ง คือ "การกลั่นกรองกฎหมาย" ที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรให้มีความรัดกุมรอบคอบ โดยหลังจากที่สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบกฎหมายแล้ว จะต้องส่งให้วุฒิสภาพิจารณาให้ความเห็นชอบอีกครั้ง เพื่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลอีกหนึ่งชั้นก่อนที่กฎหมายจะมีผลบังคับใช้ แต่ทว่า ด้วยที่มาของสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ตามรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่กำหนดให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เป็นคนคัดเลือกด่านสุดท้าย ทำให้การออกกฎหมายที่เสนอโดยรัฐบาลคสช. หรือ การเสนอกฎหมายโดยคณะรัฐมนตรี (ครม.) ที่นำโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตหัวหน้าคสช. ไม่ค่อยถูกตรวจสอบถ่วงดุลเท่าที่ควร
76D9582F-3D87-490A-A2DE-49FF56F2B730
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: เหลียวหลังแลหน้าข้อเสนอ “ปิดสวิตซ์ ส.ว.”

19 มิถุนายน 2565 มูลนิธิอาสาสมัครนักสิทธิมนุษยชน และอาสาสมัครนักสิทธิมนุษยชน จัดวงเสวนาในหัวข้อ "เอาไงต่อกับมาตรา 272: หนทางข้างหน้าสู่การปิดสวิตซ์ ส.ว.เลือกนายก" 
Senator's assistants
อ่าน

เปิดชื่อ ส.ว. แต่งตั้งญาติเป็นผู้ช่วย 50 คน รับเงินเดือนหลักหมื่น พบทหาร คนใกล้ชิด คสช. อีกกว่าครึ่งพัน

การแต่งตั้งคนใกล้ชิดเพื่อมารับค่าตอบแทนรายเดือนยังคงทำเป็น “อุตสาหกรรม” ขนาดใหญ่ไม่ต่างจากในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เพียงแต่ซ่อนรูปอยู่ใน ส.ว.แต่งตั้ง ที่เครือญาติคนรู้จักยังได้ประโยชน์อย่างมหาศาลอยู่เช่นเดิม
NCPO Network
อ่าน

8 ปี คสช. วางเครือข่ายนักการเมืองแต่งตั้งคุมประเทศ

22 พฤษภาคม 2565 ครบรอบแปดรัฐประหารโดย คสช. ตัวผู้นำ คสช. ทั้งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา, พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ และพลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา ยังคงถืออำนาจในการปกครองประเทศไทยอยู่ รวมทั้งเครือข่ายที่ถูก คสช.แต่งตั้ง ก็ยังคงมีบทบาทกระจายกันไปตามองค์กรต่างๆ
Senator Money
อ่าน

ส.ว. ชุดพิเศษทำงานครบ 3 ปี ได้เงินไปกว่า 2,000 ล้าน ผ่านกฎหมายแล้ว 35 ฉบับ

รวมจำนวนเงินงบประมาณในช่วงเวลาสามปีที่ต้องจ่ายเป็นค่าตอบแทน ส.ว. และตำแหน่งสนับสนุนการทำงานของ ส.ว. อย่างน้อย 2,230,569,000 บา ในช่วงเวลานี้ผ่านร่างพระราชบัญญัติได้ 35 ฉบับ เท่ากับค่าใช้จ่ายตอบแทน ส.ว. ด้านการพิจารณากฎหมายตกอยู่ที่ ฉบับละ 63,730,542 บาท                      
 Going to 2022
อ่าน

ปี 2022 กับ 4 เรื่องการเมืองที่ต้องจับตา

ในปี 2022 หรือ ปี 2565 นี้ หากรัฐบาลยังทำหน้าที่แก้ปัญหาที่สืบเนื่องมาจากการระบาดของโรคโควิด19 ได้ไม่ดีพอ สถานการณ์ทางการเมืองย่อมมีแนวโน้มที่จะร้อนแรงมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ เราจึงอยากช่วยประชาชนจับจาวาระร้อนทางการเมืองอย่างน้อย 4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นในปีนี้ 
Senate results
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: “ส.ว.สายทหารเห็นชอบ-สายต้านทักษิณคัดค้าน”

รัฐสภาเห็นชอบแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 สำเร็จเป็นครั้งแรก ให้มีบัตรเลือกตั้งสองใบ และให้มี ส.ส.เขต 400 คน และ ส.ส.บัญชีรายชื่อ 100 คน โดยกลุ่มของ ส.ว. ที่มาจากการสรรหาคัดเลือกของคสช. เพราะการลงมติในครั้งนี้เป็นไปอย่างอิสระ มีการลงมติในทิศทางที่แตกต่างกัน
7yearsCON
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย: ส.ว.ของคสช. ขวางการเปลี่ยนแปลง-ถ่วงแก้รัฐธรรมนูญ

หลัง คสช. ทำการรัฐประหารมาเป็นเวลากว่า 7 ปี คำสัญญาที่ว่าจะคืนอำนาจให้กับประชาชนถูกทดแทนด้วย “รัฐธรรมนูญ ปี 2560” ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญที่คนของคสช. เป็นคนร่าง และเต็มไปด้วยกลไกสืบทอดอำนาจอย่างเข้มข้นอีกทั้ง หนทางในการจะออกจากวังวนอำนาจของคสช. ภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ก็เต็มไปด้วยอุปสรรค ตลอด 7 ปีที่ผ่านจึงเป็น 7 ปี ที่คสช. พยายามรักษาฐานอำนาจผ่านการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และไม่ยอมให้แก้ไขเปลี่ยนแปลง