70658238_2503574079734490_788837732515315712_n
อ่าน

ย้อนดูมหากาพย์คดี “ศูนย์ปราบโกงประชามติ” หลังศาลแขวงราชบุรีสั่งยกฟ้องคดีสุดท้าย 23 กันยายน 2562

รัฐธรรมนูญฉบับปี 2560 ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน นับเป็นฉบับที่ 2 ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่มีการประกาศใช้ หลังการออกเสียงประชามติ เท่ากับว่ารัฐธรรมนูญที่มีที่มาจากการรัฐประหารสองฉบับสุดท้ายได้แก่ ฉบับปี 2550 และฉบับปี 2560 ต่างประกาศใช้หลังการลงประชามติของประชาชนทั้งสองฉบับ อย่างไรก็ตามบรรยากาศการรณรงค์ประชามติร่างรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับกลับแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง 
-Media-Inside-Out
อ่าน

เก็บตกเวที Media Inside Out จำเลยรัฐ จาก NDM ถึง MBK 39

ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2561 การเมืองไทยกลับมาเคลื่อนไหวคึกคักอีกครั้ง แม้คำสั่งหัวหน้า คสช. ฉบับที่ 3/2558 ที่ห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปจะยังมีผลบังคับใช้ แต่ก็ไม่ได้ทำให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับ คสช. หวาดกลัว ตรงกันข้ามเมื่อมีข่าวว่า พ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส.ฯ จะมีผลบังคับใช้หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาไปแล้วเก้าสิบวัน และทำให้การเลือกตั้งอาจจะถูกเลื่อนออกไปได้ไกลจากโรดแมปเดิมถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ก็กลายเป็นแรงกระตุ้นให้ประชาชนที่ไม่เห็นด้วยกับ คสช. ทั้งคนรุ่นใหม่และคุณลุงคุณป้าออกมาเคลื่อนไหวเพื่อทวงสัญญาให้มีการเลือกตั้งภายในปี 2561 จนนำไปสู่การดำเนินคดี ฐานฝ่าฝืนคำสั่งหัวหน้า คสช.
002
อ่าน

เปลือยความคิด 3 นักกิจกรรม: ในเดิมพันคดีสติ๊กเกอร์โหวตโน

ย้อนไปเช้าของวันที่ 10 กรกฎาคม 2559 ‘แมน’ ปกรณ์ อารีกุล ‘แชมป์’ อนุชา รุ่งมรกต และ ‘บอย’ อนันต์ โลเกตุ เดินทางไปที่สภ.บ้านโป่ง จังหวัดราชบุรีเพื่อให้กำลังใจชาวบ้านซึ่งถูกเรียกรายงานตัวจากการเปิดตัวศูนย์ปราบโกงประชามติ  การเดินทางครั้งนั้นมี ‘อ๊อตโต้’ ทวีศักดิ์ เกิดโภคา นักข่าวจากประชาไท ร่วมทางไปด้วย
man
อ่าน

คุยแบบ “แมนๆ” กับหนึ่งในผู้ต้องหา “พ.ร.บ.ประชามติฯ”

“แมน” ปกรณ์ อารีกุล บัณฑิตสาขาพัฒนาชุมชนจากรั้วบูรพา นักกิจกรรมหนุ่มที่สื่อแทบทุกสำนักต้องรู้จักชื่อของเขาเป็นอย่างดี จากคนทำประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมและมหาวิทยาลัยนอกระบบ บทบาทของเขาเริ่มเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น เมื่อเคลื่อนไหวร่วมกับกลุ่มนักศึกษาที่ออกมาแสดงจุดยืนว่าไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหาร  ในปีที่สามย่างปีที่สี่ของ คสช.
02
อ่าน

ปมร้อนราชภักดิ์: เมื่อการวิพากษ์วิจารณ์และตรวจสอบความโปร่งใสของอุทยานราชภักดิ์นำไปสู่การตั้งข้อหาความมั่นคง

ความน่าสงสัยว่ามีการทุจริตในการก่อสร้างอุทยานราชภักดิ์  เป็นประเด็นที่คนในสังคมพูดถึงอย่างกว้างขวางในช่วงปลายปี 2558 ซึ่งกองทัพบกในฐานะผู้ดำเนินการจัดสร้าง ถูกตั้งคำถามและวิพากษ์วิจารณ์ มีการแชร์ข้อมูลบนโลกออนไลน์เกี่ยวกับความเป็นไปได้ของการทุจริต และผู้ที่น่าจะมีส่วนเกี่ยวข้องในการทุจริตอย่างแพร่หลาย ขณะเดียวกันก็มีประชาชนกลุ่มหนึ่งเดินทางไปตรวจสอบการทุจริตในสถานที่จริง โดยจัดกิจกรรม ส่องกลโกงอุทยานราชภักดิ์ ซึ่งในเวลาต่อมา มีคนจำนวนมาก ถูกควบคุมตัว ถูกจับกุม และถูกตั้งข้อหาจากการใช้เส
seminar
อ่าน

ฝ่าวิกฤติชายแดนไทยเขมร : ชำแหละเส้นเขตแดน ความเข้าใจประวัติศาตร์ไทย

ธงชัย วินิจจะกูล และสุรชาติ บำรุงสุขสวนกระแสชาตินิยมในงานรัฐศาสตร์ภาคประชาชน ชี้ไทยไม่เคยเสียดินแดน เรื่องเขาพระวิหารยุติไปแล้ว