prolong power
อ่าน

วิวาทะจากสภา: “คสช. สืบทอดอำนาจ” ไม่ใช่วาทกรรม แต่เป็นรูปธรรม

ระหว่างการประชุมรัฐสภา ส.ส. ฝ่ายหนึ่งก็อภิปรายทำนองว่า คณะรัฐประหารอย่าง คสช. ต้องการ สืบทอดอำนาจ ขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งก็บอกว่า การสืบทอดอำนาจไม่มีจริง เป็นเพียงวาทกรรมทางการเมือง ลองมาดูรัฐธรรมนูญและกฎหมายต่างๆ ว่า ยุคสมัยของ คสช. ได้วางกลไกให้ตัวเองมีอำนาจต่อหลังเลือกตั้งไว้อย่างไรบ้าง
opportunities
อ่าน

“โอกาส” ของประเทศไทย ถ้า คสช. ไม่ได้สืบทอดอำนาจต่อหลังเลือกตั้ง

ตลอดเวลาเกือบ 5 ปี รัฐบาล คสช. มีแนวทางรวบอำนาจไว้สู่ศูนย์กลาง ไม่เน้นออกแบบประเทศโดยให้มีส่วนร่วม หากหลังการเลือกตั้ง คสช. ไม่ได้กลับมามีอำนาจต่อ ความฝันที่ประชาชนอยากจะเห็นแต่ถูกทำหมันไปโดย คสช. ก็จะกลับมามี “โอกาส” เริ่มเดินหน้าได้ต่ออีกครั้ง   
กลเกมสืบทอดอำนาจที่ไม่ยากสำหรับพลังประชารัฐ
อ่าน

เลือกตั้ง 62: แต้มต่อ ส.ส.พลังดูด อย่างน้อย 47 ที่นั่ง กลเกมสืบทอดอำนาจที่ไม่ยากสำหรับพลังประชารัฐ

จากพลังดูด สู่แต้มต่อให้พรรคพลังประชารัฐ  มากถึง 47 ที่นั่ง ในศึกเลือกตั้ง 62 ชวนตรวจรายชื่อ ส.ส. พลังดูดที่ลงสู้ศึกให้กับพรรคพลังประชารัฐ และคะแนนติดตัวที่เปรียบเสมือน "บุญเก่า" เป็นแต้มต่อให้ คสช. สืบทอดอำนาจได้ผ่านการเลือกตั้งครั้งนี้ 
noncpo
อ่าน

เลือกตั้ง 62: สำรวจจุดยืน พรรคไหนไม่เอา คสช.

ชวนสำรวจว่า มีพรรคการเมืองไหนที่มีจุดยืนไม่เอา คสช. หากจะขัดขวางไม่ให้ คสช. สืบทอดอำนาจร่วมกันจัดตั้งรัฐบาลที่มาจากประชาชน  
6-เรื่องตลกร้ายของรัฐธรรมนูญ-2560(ปก)
อ่าน

6 เรื่องตลกร้ายของรัฐธรรมนูญ 2560

รัฐธรรมนูญ 2560 คือรัฐธรรมนูญปัจจุบันของประเทศไทย เป็นฉบับที่ 20 จัดทำโดย คสช. บังคับใช้ตั้งแต่ 6 เม.ย. 60 นับถือ 10 ธ.ค. 61 เป็นเวลาประมาณ 1 ปี 9 เดือนที่รัฐธรรมนูญบังคับใช้ เนื่องในวันรัฐธรรมนูญปี 2561 ไอลอว์รวบรวมเรื่องราวตลกร้ายที่อยากจะขำแต่ขำไม่ออกเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้มาให้ทราบกัน
Geer
อ่าน

เปิดลายแทง ร่างพ.ร.บ.ปฏิรูปประเทศตามยุทธศาสตร์ทหาร เสี่ยงก้าวก่ายทั้งตุลาการ-องค์กรอิสระ

ร่างพ.ร.บ.ปฏิรูปฯ ถูกเสนอขึ้นเพื่อทำตามที่รัฐธรรมนูญใหม่เขียนไว้ แม้จะกำหนดว่าต้องรับฟังความคิดเห็น แต่ก็เขียนกลับกันว่า การรับฟังที่เคยทำมาแล้วให้เอามาใช้ได้ด้วย แถมแผนการปฎิรูปนี้ต้องให้คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติที่เต็มไปด้วยทหารพิจารณา และให้คณะรัฐมนตรีชุดนี้เห็นชอบ สุดท้ายอาจกลายเป็นแผนการปฏิรูปตามใจ คสช.   
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 6: จากรัฐประหาร 49-57 สนช.สืบทอดอำนาจ หน้าเดิมได้แต่งตั้งซ้ำ

สมาชิก สนช. ปี 2557 มีอย่างน้อย 36 คน ที่ไม่ได้เข้าสู่ตำแหน่งนิติบัญญัติโดยการแต่งตั้งเป็นครั้งแรก แต่เคยได้รับการแต่งตั้งเป็นสนช. ปี 2549, ส.ว. ปี 2551 และ ส.ว. ปี 2554 มาก่อนแล้ว บ้างท่านอยู่ในสภาโดยการแต่งตั้งต่อเนื่องมานับทศวรรษ
Meechai
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ถ้าร่างผ่านเท่ากับ “ตีเช็คเปล่า” ให้ กรธ.เขียนกฎหมายลูก 10 ฉบับได้ตามใจ

รัฐธรรมนูญทุกฉบับต้องอาศัยกฎหมายลูก อย่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมาขยายรายละเอียด ซึ่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติต้องมีกฎหมายลูกอีกอย่างน้อย 10 ฉบับ และถ้าร่างผ่านประชามติ กรรมการร่างรัฐธรรมนูญจะอยู่ยาวอีกแปดเดือนเพื่อร่างกฎหมายลูกเองทั้งหมด เนื้อหาจะเป็นยังไงตอนนี้ยังไม่เห็นทิศทาง
อ่าน

คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกกล่าวหาว่ามีการสืบทอดอำนาจ ซึ่งไม่ใช่ครั้งแรกในการเมืองไทยที่มีการกล่าวหาเรื่องนี้ เราจะย้อนกลับไปดูว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกร่างขึ้นหลังการรัฐประหาร (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2492, 2511, 2521, 2534 และ 2550) เขาสืบทอดอำนาจอย่างไร? และผลจากการสืบทอดอำนาจเป็นอย่างไร ?