No solution for PM2.5 pollution in thailand’s 20-year national strategy
อ่าน

เปิดดูแนวคิดการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พบว่า … ไม่มี

ท่ามกลางสภาพปัญหาอากาศเป็นพิษ เต็มไปด้วยฝุ่นควันขนาดเล็ก โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ภาครัฐก็ยังไม่มีความชัดเจนว่าจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไรให้ยั่งยืน เมื่อลองเปิดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่ คสช. ร่างขึ้น พบว่า ไม่มีการตระหนักถึงปัญหาฝุ่นขนาดจิ๋วเหล่านี้และไม่มีแนวนโยบายที่จะแก้ไขปัญหาเรื่องนี้เลย
Environment
อ่าน

รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.

หลัง คสช. เข้ายึดอำนาจ คสช. พยายามกระตุ้นเศรษฐกิจและพยายามส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การผลักดันเรื่อง "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ" "การจัดการระบบสัปทานแร่" "การกำกับดูแลโรงงาน"  แต่ปัญหาของการพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจภายใต้ คสช. ได้ลดทอนมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมลงเพื่ออำนวยความสะดวกให้กลุ่มทุน
อ่าน

ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม: ตั้งเป้าใช้พลังงานหมุนเวียนร้อยละ 40

การจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม รัฐบาล คสช. แต่งตั้งธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล ประธานคณะกรรมการฯ และมีคณะกรรมการอีก 8 คน หลังจัดรับฟังความคิดเห็นประชาชนร่างยุทธศาสตร์ชาติฉบับนี้จะถูกแก้ไขเพิ่มเติมก่อนจะถูกเสนอต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ
อ่าน

ถอดบทเรียนบาดแผลจาก ‘อีสเทิร์นซีบอร์ด’ ก่อนไปถึง ‘อีอีซี’

ในวันที่รัฐกำลังเร่งผลักดัน โครงการ 'เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก' หรือ 'อีอีซี' เราเลือกจะมาคุยกับ 'สมนึก จงมีวศิน' นักวิชาการอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อถอดบทเรียนบาดแผลการพัฒนาก่อนจะก้าวพลาดซ้ำรอยแผลเดิมอีกครั้ง 
Community Rights
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ
อ่าน

ร่างกฎหมาย GMO เปิดช่องผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิด อ้าง “เหตุสุดวิสัย”

ร่างพ.ร.บ.ความปลอดภัยทางชีวภาพหรือ ร่างพ.ร.บ.จีเอ็มโอ ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีท่ามกลางเสียงท้วงติงจากภาคประชาชนและหน่วยงานรัฐเองหลายประเด็น เช่น การใช้จีเอ็มโอในสภาพควบคุมหรือในภาคสนามที่ไม่ต้องทำ EIA หรือผู้ประกอบการไม่ต้องรับผิดชอบถ้าความเสียหายที่เกิดขึ้นเป็นเหตุสุดวิสัย รวมถึงการเขียนกฎหมายแบบเปิดโอกาสให้มีการใช้จีเอ็มโออย่างเสรี
อ่าน

เกิดอะไรขึ้นที่นามูล-ดูนสาด เมื่อสัมปทานปิโตรเลียมเคลื่อนเข้ามา ?

การสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่บ้านนามูล-ดูนสาด เป็นที่รับรู้โดยทั่วไปว่ามีการต่อต้านจากชาวบ้าน มีทหารเข้ามาในพื้นที่ มีเจ้าหน้าที่รัฐเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นที่นี่ เราชวนรู้จักกับพื้นที่แห่งนี้ว่าพวกเขากังวลอะไรกับผลกระทบหากมีการขุดเจาะปิโตรเลียม
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ฉบับประชาชน: เพิ่มเอกภาพให้ภาครัฐ เพิ่มพื้นที่ให้ภาคประชาชน

ปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหามากมายในด้านการจัดการทรัพยากรน้ำ ทั้งน้ำท่วมอุทกภัย น้ำแล้ง มลพิษปนเปื้อน ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ ความขัดแย้งจากการแย่งชิงน้ำและการระบายน้ำ รวมทั้งการสูญเสียความสมดุลของน้ำในระบบนิเวศ ขณะเดียวกัน การจัดการปัญหาของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องกว่า 30 หน่วยงาน เช่น กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรมเจ้าท่า กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ ฯลฯ 
อ่าน

ร่วมแก้ไข พ.ร.บ.ประมง กระจายอำนาจให้ชาวประมง

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำประมงในปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ซึ่งเป็นกฎหมายที่เก่ามากแล้ว แม้จะแก้ไขมาสามถึงสี่ครั้งก่อนหน้านี้ แต่ก็เพียงแก้ไขในประเด็นปลีกย่อย แต่โครงสร้างอำนาจหลักที่เป็นปัญหาสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรประมงนั้นยังไม่เคยถูกแก้ไข สมาคมสมาพันธ์ชาวประมงพื้นบ้านแห่งประเทศไทย จึงร่างพระราชบัญญัติประมง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. … ขึ้นเพื่อเสนอโครงสร้างอำนาจแบบใหม่ที่อาจแก้ไขปัญหาที่มีมาช้านานได้
อ่าน

ร่วมแก้ไขพ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ ให้ชุมชนช่วยคิดช่วยสร้าง

เพื่อที่จะสร้างระบบกฎหมายให้สามารถปกป้องคุ้มครองสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีส่วนร่วม ลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชาชน รัฐ และเจ้าของโครงการ นอกจากจะต้องเร่งจัดตั้งองค์กรกลางผ่านการผลักดัน “ร่างพ.ร.บ.องค์การอิสระด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ