ลงชื่อ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายอาญามาตรา 112 ตามข้อเสนอคณะนิติราษฎร์

คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ วรเจตน์ ภาคีรัตน์, ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล, ธีระ สุธีวรางกูร, สาวตรี สุขศรี, ปิยบุตร แสงกนกกุล, จันทจิรา เอี่ยมยุรา เคยแถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ หรือกฎหมายอาญามาตรา 112
อ่าน

ภาครัฐเห็นค้าน ประชาชนขอตั้งองค์กรอิสระป้องกันการทรมาน

อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้ มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี หรือเรียกสั้นๆ ว่าอนุสัญญา CAT มีผลใช้บังคับในไทยตั้งแต่ปี 2550 ประเทศไทยจึงมีหน้าที่หรือพันธกรณีต้องปฏิบัติตามหลักการในอนุสัญญา แต่กฎหมายไทยยังมีข้อจำกัดทั้งในแง่เนื้อหาและวิธีปฏิบัติ  ทุกฝ่ายจึงเห็นตรงกันว่าประเทศไทยมีภาระหน้าที่ต้องแก้ไขกฎหมายที่เกียวข้อง อีกหลายประเด็น  
อ่าน

แดงรุดหน้า ล่าหมื่นชื่อยกเลิกม.112

เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 เนื่องในวันครบรอบ 1 ปีเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตถึง 92 ศพ กลุ่มคนเสื้อแดงจึงจัดงานรำลึกถึงผู้เสียชีวิตบริเวณสี่แยกราชประสงค์ ขณะที่เครือข่ายประชาธิปไตยก็จัดกิจกรรมบริเวณลานลานพระบรมรูป ร.6 สวนลุมพินี และในกิจกรรมมีการตั้งโต๊ะให้ประชาชนมาลงชื่อเพื่อยกเลิกกฎหมายอาญามาตรา 112 ด้วย
อ่าน

คณะนิติราษฎร์เสนอ ยกเลิกมาตรา 112 แก้ไขเพิ่มเติมม.หมิ่นฯ

เมื่อวันที่ 27 มี.ค. 54 คณะนิติราษฎร์ ซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อันได้แก่ วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ธีระ สุธีวรางกูร สาวตรี สุขศรี และปิยบุตร แสงกนกกุล ได้แถลงข้อเสนอเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นประมาท
อ่าน

การชุมนุมของประเทศไทยกับบทศึกษาของกฎหมายชุมนุมต่างประเทศ

การชุมนุมของไทยเกิดขึ้นหลายต่อหลายครั้ง แต่การดำเนินการของรัฐเกี่ยวกับการชุมนุมก็ยังไม่ใช่คำตอบของสังคมไทย สมควรที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายเกี่ยวกับการชุมนุมหรือไม่  
อ่าน

จะอยู่กันอย่างไร ถ้าไม่มีกฎหมายความมั่นคง

  จากที่ไอลอว์ ได้เสนอให้ยกเลิกกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงของรัฐ ได้แก่ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ.2457 (กฎอัยการศึก) พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) และพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 (พ.ร.บ.ความมั่นคง) เพราะมองว่ากฎหมายดังกล่าวเปิดช่องให้เจ้าหน้าที่รัฐใช้อำนาจเกินสมควรในลักษณะที่ขัดต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้
อ่าน

คดีความมั่นคงชายแดนใต้ลดลง การซ้อมทรมานยังคงอยู่

ศูนย์ทนายความมุสลิมชี้ ทางการต้องยกมาตรฐานการทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับล่าง พร้อมทั้งให้มีระบบตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาการซ้อมทรมารรีดเอาคำสารภาพ ซึ่งใช้ไม่ได้ผลในชั้นศาล แต่รังแต่จะถ่างช่องว่างระหว่างรัฐกับชาวบ้านให้กว้างขึ้น  

ความเท่าเทียมระหว่างเพศเกิดขึ้นได้ เพียงแค่คุณร่วมลงชื่อสนับสนุน

****ร่างพ.ร.บ.ส่งเสริมโอกาสและความเสมอภาคระหว่างเพศ ถูกแก้ไขปรับปรุงอีกหลายครั้ง ติดตามความเคลื่อนไหวและหลักการในร่างฉบับแก้ไขล่าสุดได้ โดยคลิกที่นี่***