Welfare in Constitution
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
welfare issue on constitution
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สวัสดิการที่ยังไม่ชัดเจน และเปิดช่องว่างกว่าฉบับก่อนๆ

รัฐธรรมนูญไทยในอดีตเคยวางร่องรอยของการจัดสวัสดิการไว้และยึดมั่นในหลักการบางประการมาอย่างต่อเนื่อง ทว่ารัฐธรรมนูญ 2560 ได้ปรับเปลี่ยนถ้อยคำเล็กๆ น้อยๆ ที่เคยมีอยู่ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ คล้ายวางกับดักเป็นช่องว่างให้รัฐมีภาระการดูแลสวัสดิการประชาชนลดถอยลง
Where is Pension?
อ่าน

“บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?

ก่อนหน้าที่จะมีการระบาดของโควิด 19 เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการได้พยายามผลักดันร่างกฎหมาย "พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ" ซึ่งหลักใหญ่ใจความก็คือ การให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินบำนาญอย่างเสมอภาคกัน โดยวางกรอบวงเงินไว้ที่ 3,000 บาทต่อเดือน หลังภาคประชาชนรวบรวมรายชื่อไม่น้อยกว่า 10,000 คน เพื่อเสนอกฎหมายฉบับดังกล่าวสู่สภา กฎหมายกลับยังติดขัดอยู่ที่ตัวนายกรัฐมนตรี 
อ่าน

หมอบรรลุผุดไอเดีย ออกกฎหมายหนุนชมรมคนแก่ ช่วยแก้ปัญหาคนสูงวัย

คปก.เปิดเวทีรับฟังความคิดเพื่อหาแนวทางพัฒนากฎหมายสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุ นพ.บรรลุ ศิริพานิช เสนอว่า หากรัฐมีกฎหมายที่สนับสนุนให้เกิดชมรมผู้สูงอายุ จะช่วยแบ่งเบาปัญหาได้ เพราะชมรมจะทำให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลช่วยเหลือกัน อีกทั้งยังช่วยคลายเหงาคนแก่ได้ด้วย