International Standards
อ่าน

“หลักสากล” สำหรับการชุมนุมและการสลายการชุมนุม

ชวนดูหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในการชุมนุม และหลักปฏิบัติหากเจ้าหน้าที่จะสลายการชุมนุม หลังจากมีการสลายการชุมนุมของ "คณะราษฎร63" เมื่อช่วงค่ำวันที่ 16 ต.ค.ที่ใต้สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสยาม
49911798668_0d12afc6dd_o
อ่าน

10 ปี พฤษภา 53: ศาลทหารและการเอาผิด “ผู้ปฏิบัติการ” ที่ไปไม่ถึงไหน

ตลอด 10 ปี การเอาผิด ‘ผู้ปฏิบัติการ’ ในเหตุการณ์สลายการชุมนุม พฤษภา 2553 ก็ไม่มีความคืบหน้า แม้ว่ามีหลักฐานคำให้การ ผลการชันสูตรและการไต่สวนการตายที่ระบุว่าผู้เสียชีวิตหลายรายเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของทหาร แต่ทว่าอัยการทหารก็มีความเห็นสั่งไม่ฟ้อง ทำให้เกิดคำถามสำคัญต่อกระบวนการยุติธรรมสำหรับทหาร หรือ "ศาลทหาร" ว่ามีความถูกต้องเที่ยงธรรมมากแค่ไหน
Emergency Decree revocation
อ่าน

ประกาศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ห้าในหกครั้ง ยกเลิกทันทีเมื่อเหตุจำเป็นสิ้นสุดแล้ว

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยุคโควิด 19 ถูกประกาศใช้ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคมและจะมีผลบังคับใช้ไปจนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม ในขณะที่ยังไม่มีความชัดเจนว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จะถูกยกเลิกเมื่อใด การย้อนไปดูการประกาศใช้กฎหมายนี้ในครั้งก่อนๆ ว่าการยกเลิกเกิดขึ้นช้าหรือเร็วและด้วยเงื่อนไขใดจึงน่าจะมีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันอยู่ไม่น้อย 
อ่าน

Thailand Post Election Report: พ.ร.บ.ชุมนุม เครื่องมือปิดกั้นการชุมนุมหลังยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช.

พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ 2558 (พ.ร.บ.ชุมนุม) เป็นกฎหมายที่ถูกผ่านโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในปี 2558 ช่วงที่คำสั่งหัวหน้าคสช.ฉบับที่ 3/2558 ข้อ 12 เรื่องห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปยังบังคับใช้อยู่ พ.ร.บ.นี้ไม่มีบทบาทเป็นเครื่องมือปิดกั้นการชุมนุมมากนัก เจ้าหน้าที่อาจนำพ.ร.บ.ชุมนุมฯ มาใช้เป็นข้อหาเพิ่มเติมในการดำเนินคดีกับผู้ใช้เสรีภาพการชุมนุม แต่ข้อหาหลักยังเป็นคำสั่งหัวหน้าคสช. 
court-US
อ่าน

ศาลสหรัฐ อาจให้สื่อถ่ายทอดหรือรายงานการพิจารณาคดีได้

เราสามารถค้นคว้าและพบภาพถ่าย แม้กระทั่งวีดีโอที่บันทึกการพิจารณาคดีของศาลในสหรัฐอเมริกา ที่เผยแพร่ทางเว็บไซต์ต่างๆ ได้ไม่ยาก วีดีโอแต่ละชิ้นแสดงให้คนที่สนใจแต่ไม่ได้ไปสังเกตการณ์การพิจารณาคดีเห็นภาพและเข้าใจได้
อ่าน

บทเรียนจากกวางจู “ประวัติศาสตร์ที่ไม่ถูกจดจำจะถูกซ้ำรอยเดิม”

เรื่องราวของขบวนการประชาธิปไตยที่กวางจูและเกาหลีใต้ไม่เป็นที่รับรู้มากนักในสังคมไทย ช่วงเวลาประมาณสองสัปดาห์ที่กวางจูทำให้ผู้เขียนเห็นภาพเปรียบเทียบบางอย่างของเกาหลีใต้กับประเทศไทย จึงขอนำประสบการณ์จากการเดินทางครั้งนี้มาแบ่งปัน
274233156_8f5158cb23_t
อ่าน

การชุมนุมของคนงานไทย/กัมพูชา : เสรีภาพที่เต็มไปด้วยขวากหนาม

สำหรับคนงาน เสรีภาพในการชุมนุมเป็นช่องทางสำคัญที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ เพราะการชุมนุมจะสร้างพลังต่อรองให้มากขึ้นดีกว่าเรียกร้องลำพังคนเดียว ทว่าในทางปฏิบัติ ทั้งไทยและกัมพูชามีบทเรียนคล้ายๆ กัน คือ การใช้เสรีภาพในการชุมนุมของคนงานเต็มไปด้วยความเสี่ยงและบางครั้งราคาที่ต้องจ่ายไปคือชีวิต
อ่าน

‘จับมั่ว-จับไม่เลือก’ มองสถานการณ์ฉุกเฉินปี 57 จากบทเรียน พฤษภา 53

รัฐบาลประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินร้ายแรง ทำให้หลายฝ่ายหวั่นวิตกจะกระทบสิทธิประชาชน ขณะที่บางคนก็เชื่อว่าหากเชื่อฟังกฎหมาย ไม่ได้ทำผิด คงไม่กระทบอะไร iLaw คุยกับคนที่ติดตามคดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินสมัยปี 2553 ให้เห็นภาพว่านอกจากคนร้ายที่กฎหมายมุ่งจัดการแล้ว กฎหมายนี้จะกระทบคนทั่วไปอย่างไร