269897862_10166180697460551_1970765348559437327_n
อ่าน

ข้อหาละเมิดอำนาจศาลพุ่งตลอดปี 2564 เมื่อศาลถูกลากมายังใจกลางความขัดแย้ง

หลังกระแสการชุมนุมทางการเมืองพุ่งขึ้นสูงในปี 2563 พร้อมกับข้อเรียกร้อง “ทะลุเพดาน” การดำเนินคดีเพื่อกดปราบการแสดงออกของประชาชนก็ตามมาอย่างใหญ่หลวง และในปี 2564 คดีความทั้งหลายก็เข้าสู่มือของศาล แม้สถานการณ์โควิดจะทำให้การพิจารณาคดีส่วนใหญ่เลื่อนออกไป จึงยังไม่ปรากฏผลคำพิพากษาให้เห็นมากนักในปีนี้ แต่คำถามที่ศาลต้องเผชิญก่อน คือ คำขอประกันตัวในระหว่างการพิจารณาคดี และการตัดสินใจปฏิเสธสิทธิขั้นพื้นฐานในหลายกรณีก็ทำให้สถาบันตุลาการเข้ามาอยู่ในใจกลางความขัดแย้งแบบเต็มตัว ตลอดปี 2564 มีการจัดการชุมนุมในลักษณะที่เป็นการส่งข้อเรียกร้องต่อศาลโดยตรงจำนวนมาก ทั้งรูปแบบการ
51157089778_c6b6d00888_c
อ่าน

รวมคดีละเมิดอำนาจศาล/หมิ่นศาล เกี่ยวเนื่องกับการชุมนุมทางการเมือง

หมายเหตุ : ทำความเข้าใจความผิดฐาน ‘ละเมิดอำนาจศาล’ และ ‘ดูหมิ่นศาล’ ที่ https://freedom.ilaw.or.th/en/node/487 ตารางรวมคดี ‘ละเมิดอำนาจศาล
court
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญออกข้อกำหนด “ห้ามวิจารณ์ศาล” มีผลบังคับใช้ 17 ตุลาคม 2562

17 กันยายน 2562 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ข้อกำหนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2562 โดยมีจุดน่าสนใจอยู่ที่ข้อที่ 10 ในข้อกำหนดดังกล่าว ที่นำบัญญัติเรื่องการ "ห้ามวิจารณ์ศาลโดยไม่สุจริต" มาบรรจุไว้ และข้อกำหนดฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้ 30 วัน หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาหรือในวันที่ 17 ตุลาคม 2562 
อ่าน

ประเทศตัวอย่างที่ “วิจารณ์ศาลได้” ไม่มีความผิด

ข่าวนักวิชาการไทยอย่างน้อย 2 คนที่ถูกศาลฎีกา และศาลรัฐธรรมนูญเรียกเพื่อไปให้ข้อมูลกับศาลเนื่องจากอาจมีความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลจากการวิพากษ์วิจารณ์ และการติชมในพื้นที่สาธารณะทำให้บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นต่อศาลกลายเป็นสิ่งที่น่าหวาดระแวง  แต่ทว่า ในหลายประเทศซึ่งมีความก้าวหน้าทางประชาธิปไตย เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร หรืออินเดีย กลับเปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้ทำหน้าที่ตรวจสอบศาลผ่านการวิพากษ์วิจารณ์ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาที่เปิดกว้างให้วิพากษ์วิจารณ์ได้ แม้ว่าการวิพากษ์วิจารณ์นั้นจะผิดพลาด หรือมุ่งร้าย หรือไม่เป็นธรรมเท่าใดก็ตาม แต่การกระทำของประชาชนก็ไม่ถื
pexels-photo-531970
อ่าน

เปรียบเทียบ “ขอบเขต-บทลงโทษ” ในข้อหา “ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล”

เปรียบเทียบ “ขอบเขต-บทลงโทษ” ในข้อหา “ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล” ในฐานะที่ศาลเป็นองค์กรที่มีหน้าที่ในการแสวงหาข้อเท็จจริงและตัดสินข้อพิพาททั้งระหว่างประชาชนกับประชาชนและระหว่างประชาชนกับรัฐ ในฐานะที่เป็นผู้ตัดสินข้อพิพาทศาล คำตัดสินของศาลจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะทำให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าศาลจะสามารถดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีและแสวงหาข้อเท็จจริงเพื่อตัดสินข้อพิพาทได้โดยไม่ต้องกังวลว่าจะถูกแทรกแซงหรือขัดขวางการทำงาน กฎหมายละเมิดอำนาจศาลจึงถ
Artboard 5@2x-100 (1)
อ่าน

กฎหมายละเมิดอำนาจศาล การชั่งน้ำหนักระหว่างความศักดิ์สิทธิ์ของศาล กับเสรีภาพในการแสดงออก

กฎหมายละเมิดอำนาจศาลถูกกำหนดขึ้นเพื่อป้องกันการแทรกแซงหรือการขัดขวางกระบวนการยุติธรรม โดยมีการกำหนดบทลงโทษเพื่อสงวนไว้ซึ่งอำนาจและความน่าเชื่อถือในการพิจารณาคดีของศาลรวมทั้งกำหนดให้การกระทำบางอย่างที่อาจทำให้ประชาชนผู้เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมไม่ได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมเป็นความผิด
Artboard 5@2x-100 (1)
อ่าน

Comparative Analysis of Contempt of Court Laws: How Judiciaries Balance Between Competing Rights

Contempt of court laws protect against interference with or disruption of the administration of justice. It has sanctions and/or remedies that are used to preserve the authority and credibility of the judiciary and to protect the right of citizens to a fair trial. Generally, contempt of court proceedings is distinguished between direct or indirect.