GPS
อ่าน

แอบติด GPS นักกิจกรรม ทำไม่ได้ ไม่มีกฎหมายรองรับ

  ระหว่างช่วงเวลาที่การชุมนุมและการแสดงออกทางการเมืองเข้มข้น ฝ่ายรัฐย่อมต้องการอยากรู้อยากเห็นความเคลื่อนไหวของนักกิจกรรมที่จะแสดงออกในแนวทางที่ต่อต้านรัฐบาล เพื่อจะได้เตรียมการรับมือ ขณะเดียวกันการติดตามความเคลื่อนไหวก็อาจเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของนักเคลื่อนไหวด้วย ซึ่งการจะละเมิดสิทธิของประชาชนได้ต้องทำไปภายใต้กรอบที่กฎหมายให้อำนาจไว้ กฎหมายนั้นต้องออกโดยตัวแทนของประชาชนที่ชอบธรรม ต้องใช้มาตรการที่กระทบสิทธิให้น้อยที่สุด และวัตถุประสงค์ต้องทำเพื่อปกป้องประโยชน์สาธารณะ ไม่ใช่เพื่อปกป้องความมั่นคงของรัฐบาล
Varaporn Chamsanit
อ่าน

ทำไมความรุนแรงทางเพศที่เกิดขึ้นกับผู้หญิง ผู้หญิงกลับเป็นฝ่ายถูกตั้งคำถาม

จากข่าวข่มขืนนักศึกษาธรรมศาสตร์ นำมาสู่การวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงทางเพศว่า ความรุนแรงเรื่องเพศต่อผู้หญิง ถูกล้อมด้วย ‘อคติ’ ทางเพศของสังคม ไม่ใช่ ‘ปัญหาส่วนตัว’  แต่เป็นปัญหา ‘โครงสร้างของรัฐ’ และชวนคิดถึงหญิงที่พิการ หรือหญิงเป็นแรงงานข้ามชาติ ที่จะยิ่งพบอุปสรรคในกระบวนการยุติธรรมของไทย
Durex
อ่าน

นักวิชาการชี้ ปัญหาข่มขืนต้องปรับตั้งแต่ฐานคิด เสนอแก้กฎหมายให้ “ยอมความไม่ได้”

จากโฆษณา Durex ที่บอกว่า “28% ของผู้หญิงที่ขัดขืน แต่สุดท้ายก็ยอม” ทำให้คนหลายกลุ่มไม่พอใจ นักนิเทศน์ศาสตร์ชี้ งานโฆษณามีผลต่อสังคมสูง เพราะเป็นเป้าหมายหลักของการโฆษณา นักวิชาการแจงสังคมไทยมีมายาคติที่ผิดเกี่ยวกับการข่มขืน NGOเสนอแก้กฎหมายข่มขืนให้ยอมความไม่ได้