rehabilitate debt
อ่าน

ลูกหนี้ไทยยังขาดโอกาสฟื้นฟู กฎหมายต่างประเทศมีช่องให้ลูกหนี้ “เริ่มชีวิตใหม่” ไม่ต้องล้มละลาย

กฎหมายไทยไม่มีกลไก “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” สำหรับบุคคลธรรมดา ในขณะที่กฎหมายล้มละลายของหลายๆ ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ล้วนแต่มีกลไกที่ให้โอกาสลูกหนี้บุคคลธรรมดา “เริ่มชีวิตใหม่” โดยการฟื้นฟูสภาวะทางการเงินได้ ไม่ต้องถูกฟ้องล้มละลายทุกกรณี
Bankruptcy bill
อ่าน

เข้าถึงง่าย-สะดวกลูกหนี้ เปรียบเทียบข้อเสนอ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” กับกลไกล้มละลาย

ส.ส.พรรคก้าวไกล เสนอแก้กฎหมายล้มละลาย เพิ่มช่องทางให้ลูกหนี้บุคคลธรรมดาสามารถ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ได้โดยไม่ต้องมีการฟ้องล้มละลายกันทุกกรณี สร้างภาระแก่ลูกหนี้น้อยกว่าการฟ้องล้มละลาย เปิดโอกาสให้ลูกหนี้บริหารจัดการทรัพย์สินของตนเพื่อชำระหนี้คืนเจ้าหนี้ 
change.org campaign
อ่าน

ร่วมลงชื่อ สนับสนุนแก้กฎหมาย เปิดช่อง “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ช่วยลูกหนี้บุคคลธรรมดา ไม่ต้องรอฟ้องล้มละลาย

ร่วมลงชื่อ สนับสนุนแก้กฎหมาย เปิดช่อง “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ช่วยลูกหนี้บุคคลธรรมดา ไม่ต้องรอฟ้องล้มละลาย
Bankruptcy bill
อ่าน

ข้อเสนอเพิ่มช่องทางลูกหนี้ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ไม่ต้องถูกฟ้องล้มละลาย

ครม.และส.ส.พรรคก้าวไกล ได้เสนอแก้ไขพ.ร.บ.ล้มละลาย หลายประเด็น เช่น  แก้ไขหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ SMEs ส่วนที่แตกต่างเป็นกลไกใหม่ในร่างฉบับที่เสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล คือ กลไกที่เปิดให้ลูกหนี้ "บุคคลธรรมดา" ขอเข้าสู่กระบวนการ "ฟื้นฟูสภาวะการเงิน" ได้ 
submission day police 3
อ่าน

อุปสรรคของการใช้เสรีภาพตามพ.ร.บ.ชุมนุมฯ: ตำรวจพยายามเต็มที่ไม่ให้เดินยื่น 13,409 รายชื่อ “ปลดอาวุธ คสช.”

24 มิถุนายน 2562 กิจกรรมเดินเท้ายื่นรายชื่อประชาชนร่างปลดอาวุธ คสช. แต่มีการพยายามขัดขวางการเดินของตำรวจ โดยอ้าง พ.ร.บ.ชุมนุมฯ
pmove
อ่าน

พีมูฟ: บทเรียนชุมนุมที่ใช่ว่า ทำตามกฎหมายแล้วจะได้ใช้สิทธิ

      หลังรัฐบาลประกาศใช้พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ 2558 (พ.ร.บ.ชุมนุมฯ) ส่งผลให้ประชาชนที่ต้องการ ใช้สิทธิชุมนุมต้องแจ้งการชุมนุมต่อเจ้าพนักงานดูแลการชุมนุมสาธารณะล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง โดยมีบางครั้งเจ้าหน้าที่สั่งให้แก้ไขการชุมนุม อ้างเหตุไม่ถูกต้องตามกฎหมายกำหนด เช่น พื้นที่ชุมนุมเป็นสถานที่ราชการหรือทางสาธารณะ  และหลายครั้งหลังจากพวกเขายื่นหนังสือแจ้งการชุมนุมตามกฎหมาย เจ้าหน้าที่กลับไม่ได้สั่งให้แก้ไขการชุมนุม
IMG_6924
อ่าน

คำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 3/2558 เมื่อใช้ซ้อนกับพ.ร.บ.ชุมนุมฯ เพื่อจำกัดเสรีภาพอย่างเป็นระบบ

“ผู้ใดมั่วสุม  หรือชุมนุมทางการเมือง  ณ  ที่ใด ๆ  ที่มีจํานวนตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป   ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน  หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท  หรือทั้งจําทั้งปรับ  เว้นแต่เป็นการชุมนุม ที่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย”     เป็นความในข้อ 12 ของคำสั่งหัวหน้า คสช.
170818_2
อ่าน

อุปสรรคของนักปกป้องทรัพยากรภาคใต้ “ปาฏิหาริย์” จำเลยสองคดี พ.ร.บ.ชุมนุมฯ

    ยื่นหนังสือ-เข้าร่วมเวทีแสดงความคิดเห็น-อดอาหารประท้วง-ตั้งวงเจรจา-สื่อสารกับสาธารณะ เหล่านี้ คือ วิธีการที่ประชาชนในพื้นที่ภาคใต้ใช้เพื่อร้องบอกให้รัฐได้ยินเสียงของพวกเขาที่มีต่อโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่รัฐพยายามหยิบยื่นให้ตลอดหลายปีที่ผ่านมา เช่น เหมืองหิน โรงไฟฟ้าถ่านหิน ท่าเรือน้ำลึก เป็นต้น หลายครั้งที่การส่งเสียงของพวกเขาประสบความสำเร็จจนโครงการหยุดชะงักไป และบ่อยครั้งที่เสียงคัดค้านดังไปไม่ถึงผู้กำหนดนโยบายระดับประเทศ ทั้งบางครั้งการแสดงความคิดเห็นยังตามมาด้วยการด