อ่าน

สองปีแล้วสินะ: ‘ผลประโยชน์ของชาติ’ ผูกขาดอยู่ที่ใคร?

สองปีมานี้ รัฐบาลของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ใช้คำว่า “เพื่อผลประโยชน์ของชาติ” บ้านเมืองไปแล้วกี่มากน้อย อยากชวนผู้อ่านทำความรู้จักกับต้นตอวาทกรรมผลประโยชน์ของชาติ ที่ฝ่ายรัฐนำมาอ้างบ่อยในระยะหลังนี้
5156624013_b3c80ac310_b
อ่าน

ความเป็นส่วนตัวภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ “ต้องจับตา”

โลกปัจจุบันการเข้าถึงและการประมวลผลข้อมูลสามารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยความสามารถของคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต แต่ปัญหาที่ตามมากคือ "การละเมิดล่วงล้ำความเป็นส่วนตัว" ทั้งนี้ สิทธิดังกล่าวเป็นสิทธิพื้นฐานที่ได้รับการรับรองมาโดยตลอด จวบจนร่างรัฐธรรมนูญ 2559 แต่ทว่าแนวทางของรัฐบาลปัจจุบันทำให้เราต้องจับตากฎหมายลูกให้มากขึ้นด้วยวิธีเขียนที่ต่างออกไป
Amend Additional Question
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย
11
อ่าน

#ส่องประชามติ: กกต.แจกเพียงข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ ประชาสัมพันธ์นอกเขตฯ ไม่ทั่วถึง

แม้ว่า กกต.จะมีแนวทางการประชาสัมพันธ์หลากหลายรูปแบบ แต่จากการรวบรวมข้อมูลยังพบข้อบกพร่องบางประการที่ส่งผลให้ประชาชนจำนวนมากต้องตกขบวนรถไฟประชามติครั้งนี้
military project
อ่าน

#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ

ประชามติ 7 สิงหาคม 2559 ภาครัฐใช้กลไกต่างๆ ในการรณรงค์และเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่งเนื้อหาในการเผยแพร่เป็นเพียงการพูดถึงข้อดีของร่างรัฐธรรมนูญ ขณะที่ พ.ร.บ.ประชามติฯ ให้การคุ้มครองการดำเนินการต่างๆ ของ กรธ.และภาคส่วนราชการต่างๆ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญ
inspector
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อที่มาองค์กรอิสระไม่เน้น “ตัวแทนประชาชน”

การทำงานขององค์กรอิสระหลายครั้งก่อให้เกิดการตั้งคำถามจากประชาชน จนมีการเรียกร้องให้องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญยึดโยงกับประชาชนให้มากขึ้น แต่ทว่าที่มาของ "คณะกรรมการสรรหา" ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติ กลับมีสัดส่วนตัวแทนที่ยึดโยงกับประชาชนเป็นเสียงส่วนน้อยอยู่เสมอ ถึงแม้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีการเพิ่มอำนาจขององค์กรอิสระให้มากกว่าเดิมก็ตาม
Review MMA Voting system
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รีวิว ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมของมีชัย

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับลงประชามติของมีชัย ฤชุพันธ์ ยังยืนยันในรูปแบบที่คิดค้นขึ้นใหม่ คือระบบเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสม หรือ MMA โดยเชื่อมั่นว่าจะช่วยให้เสียงทุกเสียงมีความหมาย ขณะที่นักวิชาการพรรคการเมืองสะท้อนว่าจะส่งผลให้พรรคการเมืองอ่อนแอ เกิดรัฐบาลผสมที่ไร้เสถียรภาพ มีโอกาสที่จะซื้อเสียงมากขึ้น และไม่สะท้อนเจตนารมณ์ของผู้ออกเสียง ฯลฯ