constitutional court news
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ ร่างกฎหมายเลือกตั้ง ส.ส. ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ เตรียมทูลเกล้าฯ ประกาศใช้

30 พฤศจิกายน 2565 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติวินิจฉัยว่า ร่างกฎหมายเลือกตั้งฯ ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และไม่มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ กระบวนการหลังจากนี้ นายกฯ นำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศเป็นกฎหมาย
Party Bill
อ่าน

ศาลรธน. เคาะ ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองไม่ขัดรธน. นัดชี้ชะตากฎหมายเลือกตั้ง 30 พ.ย. 65

23 พ.ย. 2565 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ “เอกฉันท์” ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมือง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จาหเหตุที่ 77 ส.ว. ส่งเรื่องมา หลังจากนี้นายกฯ นำร่างกฎหมายขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป
election bill
อ่าน

เลือกตั้งยังไม่ได้! กฎหมายลูกยังไม่มา ดึงเกมช้าให้ซับซ้อน

แม้ว่าร่างกฎหมายเลือกตั้ง จะผ่านรัฐสภามาแล้วแบบงงๆ แต่ดูเหมือนว่าเส้นทางของกฎหมายเลือกตั้ง จะยังไม่ถึงปลายทางได้ง่ายๆ เมื่อส.ส. และส.ว รวม 105 คน เข้าชื่อกันเสนอประธานรัฐสภา เพื่อส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่างกฎหมายเลือกตั้งฉบับนี้ ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ  
DC8FF415-8507-4F33-BBBB-551B4199346D
อ่าน

ประชุมสภา: สภาล่มครั้งที่ 19 ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. มีแนวโน้มพลิกกลับไปสูตรหาร 100

10 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณา ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ในวาระสอง โดยในวันดังกล่าว สภาได้พิจารณาไปถึงมาตรา 24/1 แต่ทว่า ผลการลงมติในมาตราดังกล่าวมีไม่ถึงจำนวนกึ่งหนึ่งของสมาชิกรัฐสภา ทำให้ พลเพชร วิชิตชลชัย ที่ทำหน้าที่เป็นประธานรัฐสภาสั่งปิดการประชุม และมีแนวโน้มที่รัฐสภาจะพิจารณากฎหมายไม่ทัน 180 วัน และถือว่ารัฐสภาให้ความเห็นชอบ ร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ฉบับ ครม. ที่ใช้สูตรคำนวณที่นั่ง ส.ส. แบบสูตรหาร 100
election bill
อ่าน

จับตาโค้งสุดท้ายกฎหมายลูกเลือกตั้ง หากรัฐสภาพิจารณาไม่ทัน พลิกกลับเป็นสูตร “หาร 100”

10 ส.ค. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา  มีวาระพิจารณาร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ซึ่งรัฐสภาต้องพิจารณาให้เสร็จภายใน 15 ส.ค. หากไม่เสร็จ ให้ถือว่ารัฐสภาให้ความเห็นชอบตามร่างพ.ร.ป.ที่ใช้เป็นหลักในการพิจารณาวาระสอง พลิกเนื้อหาหลายอย่างกับไปเป็นแบบเดิม
Parliament cannot work
อ่าน

สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล

นับตั้งแต่เปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภาตั้งแต่ปี 2562 มีเหตุการณ์สภาล่มเกิดขึ้นรวมกัน อย่างน้อย 18 ครั้ง โดยจากสถิติการเข้าประชุมสภาสะท้อนว่า ฝ่ายรัฐบาลซึ่งไปด้วยไปด้วยพรรครัฐบาลและสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งไม่สามารถรักษาองค์ประชุมได้ อีกทั้ง ในช่วงหลังฝ่ายรัฐบาลพยายามใช้เหตุการณ์สภาล่มเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของตนเอง
election draft
อ่าน

3 ข้อที่จะหายไป ถ้าพิจารณาร่าง พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ไม่ทัน

พ.ร.ป.เลือกตั้ง ส.ส. ส่อแววพิจารณาไม่เสร็จภายใน 180 วันตามที่กฎหมายกำหนด การปล่อยให้พิจารณาไม่ทันนั้นมีมากกว่าแค่เรื่องของสูตรคำนวณที่นั่ง ส.ส. เพราะยังมีข้อเสนอที่มีประโยชน์ต่อการเข้าถึงการเลือกตั้งของประชาชนที่อาจต้องหายไป
parliament meeting 3 aug 2022
อ่าน

กฎหมายลูกเลือกตั้งค้างท่ออีกสัปดาห์ หลัง #สภาล่ม เหตุองค์ประชุมไม่ครบ

3 ส.ค. 2565 เกิดเหตุสภาล่ม องค์ประชุมไม่ครบ ขณะพิจารณาร่างพ.ร.บ.กำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม ร่างกฎหมายดังกล่าวยังพิจารณาไม่เสร็จ ส่งผลให้ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. ซึ่งอยู่ในลำดับพิจารณาถัดไป ค้างท่อต้องยกยอดไปพิจารณาต่อในการประชุมรัฐสภาครั้งหน้า
parliament meeting 1-4 aug 2022
อ่าน

จับตา! ประชุมสภา โหวตกฎหมายลูกเลือกตั้ง-เคาะกรรมการป.ป.ช.

1-4 ส.ค. 2565 มีการประชุมสภาหลายนัด ทั้งวุฒิสภา นัดลงมติให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการเสนอชื่อดำรงตำแหน่งป.ป.ช. สภาผู้แทนราษฎร พิจารณาร่างกฎหมาย เช่น ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ที่เสนอมาเพื่อใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และรัฐสภา (ส.ส. + ส.ว.) พิจารณาร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. 
election bill
อ่าน

กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส. ส่อแววช้า วุ่นสืบเนื่องปมแก้สูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ “หาร 500”

26 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีมติให้กมธ. ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. นำร่างกลับไปทบทวนใหม่ สืบเนื่องจากปมการโหวตพลิกขั้ว แก้ไขร่างจากสูตรคำนวณส.ส.แบบบัญชีรายชื่อจาก "หาร 100" เป็น "หาร 500"