Parliament submits ruling to the Constitutional Court
อ่าน

รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?

9 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นด้วย 366 ต่อ 315 เสียง ให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นปัญหาอำนาจและหน้าที่ของรัฐสภา ว่ามีอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
50583093682_5025a43fb2_c
อ่าน

4 เรื่อง ที่จะเกิดขึ้นถ้าร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนมีผลบังคับใช้

17 พฤศจิกายน 2563 ที่ประชุมรัฐสภามีนัดพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเจ็ดฉบับ โดยหนึ่งในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จะถูกพิจารณา คือ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ฉบับที่เสนอโดยประชาชน ซึ่งหากร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และประกาศใช้อย่างเป็นทางการ สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับเส้นทางข้างหน้าของการเมืองไทย มีอย่างน้อย 4 เรื่อง
EXIT
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: 6 ข้อเสนอคลี่คลายวิกฤติ “ยุติการคุกคาม – เปิดพื้นที่ปลอดภัย – ใช้กลไกรัฐสภา”

ไอลอว์ติดตามการชุมนุมของนักเรียน นักศึกษา และประชาชน รวมทั้งติดตามการทำงานของฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมาอย่างต่อเนื่อง พวกเราเห็นว่า เพื่อแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าให้ความขัดแย้งคลี่คลายลง ไอลอว์จึงเสนอทางออกเพื่อคลี่คลายวิกฤติหกข้อ 
n20200910150835_468916
อ่าน

ถ้าร่างแก้รัฐธรรมนูญผ่านปีนี้ ปลายปีหน้าได้รัฐธรรมนูญใหม่

ในเดือนกันยายน 2563 คาดว่าจะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญอย่างน้อยสองฉบับ โดยสาระสำคัญของร่างแก้รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับมีจุดร่วมกัน คือ การเปิดทางให้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน และต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งถึงสองปี 
3 Steps Vote of No-Confident
อ่าน

3 ขั้นตอน วิธีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

31 มกราคม 2563 หกพรรคฝ่ายค้านยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีหกคน โดยคาดว่าจะมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจในวันที่ 19-23 กุมภาพันธ์ ซึ่งระหว่างนั้นนายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้ จากนั้นจะเว้นการประชุมสภาไว้ 1 วัน จึงกลับมาลงมติได้ ถ้ารัฐมนตรีคนใดถูก ส.ส.เกินครึ่งสภาลงมติไม่ไว้วางใจ ต้องพ้นจากตำแหน่ง
สรุป 9 ชั่วโมง ประชุมรัฐสภา-พรรคต้าน คสช. (ซ้อม) อภิปรายไม่ไว้วางใจ
อ่าน

สรุป 9 ชั่วโมง ประชุมรัฐสภา-พรรคต้าน คสช. (ซ้อม) อภิปรายไม่ไว้วางใจ

ไอลอว์สรุป 9 ชั่วโมง การประชุมร่วมกันของทั้งสองรัฐสภาครั้งแรกเพื่อทำการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ในวันที่ 5 มิถุนายน 2562
Act on Submission a Petition for Introducing the Law
อ่าน

ขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมายประชาชน

เมื่อรัฐธรรมนูญ 2560 บังคับใช้ เท่ากับเป็นการเริ่มต้นอีกครั้งของ “สิทธิการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย” โดยประชาชน หลังจากสิทธินี้ถูกระงับไปกว่าสามปีที่ คสช. เข้ามาบริหารประเทศ รัฐธรรมนูญกำหนดรายละเอียดให้เปลี่ยนไปเล็กน้อย ส่วนสาระสำคัญยังเหมือนเดิม
assent to throne
อ่าน

การสืบราชสันตติวงศ์ (สืบราชสมบัติ)

สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันสำคัญของประชาชนชาวไทย และอยู่คู่สังคมไทยมาอย่างช้านาน ไม่ว่าประเทศจะประสบปัญหาใดๆ แต่สถาบันฯ ไม่เคยห่างหายไปจากสังคม ขั้นตอนหนึ่งของการคงอยู่อย่างต่อเนื่องก็คือ “การสืบราชสันตติวงศ์” ที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ และรัฐธรรมนูญ 2550
guideline to amend the draft
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้ กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
อ่าน

รัฐธรรมนูญ’58 ‘สร้างการเมืองที่ดี ด้วยสมัชชาคุณธรรม’

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เผยแนวคิดเกี่ยวการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ผ่าน บทความ "ระบอบการเมือง นักการเมือง และสถาบันการเมือง" จากนี้อนาคตของนักการเมืองและสถาบันการเมืองต่างๆ จะถูกดูแลให้อยูในร่องในรอยโดยกลุ่มคนดี ที่เรียกว่า "สมัชชาคุณธรรม"