52929721966_1daf2b70e4_o
อ่าน

เลือกตั้ง 66: กฎหมายเปิดช่อง ส.ส.ย้ายพรรคได้หากถูกขับออกจากพรรค หรือยุบ-เลิกพรรค

ปรากฏการณ์การย้ายพ…
Artboard 1@2x-100
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดระเบียบใหม่ กกต. เร่งกระบวน “ยุบพรรค” ให้ทุกคดีจบได้ภายใน 67 วัน

15 กุมภาพันธ์ 2566 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ได้ออกระเบียบใหม่จำนวนสามฉบับ หนึ่งในนั้นคือ ระเบียบ กกต. ว่าด้วยการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานของนายทะเบียนพรรคการเมือง ซึ่งสาระสำคัญของระเบียบดังกล่าวคือ การเร่งรัดกระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง โดยกำหนดกรอบเวลาให้ไม่เกิน 67 วัน นับตั้งแต่วันที่รับเรื่องร้องเรียน
1-1@2x-100 (3)
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายดูอนาคต “พรรค 3 ป.” หลังถูกกล่าวหาเกี่ยวข้องกับทุนสีเทา

ก่อนการเลือกตั้งในปี 2566 อุณหภูมิทางการเมืองเริ่มสูงขึ้น หลัง รังสิมันต์ โรม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) พรรคก้าวไกล ได้เปิดอภิปรายทั่วไปแบบไม่ลงมติเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ว่า พรรครวมไทยสร้างชาติที่ประกาศสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ตั้งที่ทำการพรรคอยู่บนที่ดินของบุคคลที่ใกล้ชิดกับขบวนการค้ายาเสพติดและฟอกเงินของกลุ่มทุนมินลัต ในขณะที่พรรคพลังประชารัฐที่นำโดย พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มทุนจีนสีเทาอย่าง 'ตู้ห่าว' หรือ ชัยณัฐร์ กรณ์ชายานันท์ ที่ได้บริจาคเงินให้กับพรรค ซึ่งทั้งสองกรณีเข่าข่ายจะถูกยุบพรรคได้ทั้งคู่
52474242916_336241aeee_h
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ย้อนประวัติศาสตร์ เปิดสามกลโกง ส่ง ”พรรคอันดับสอง” ขึ้นเป็นรัฐบาล

ตามธรรมเนียมของระบอบประชาธิปไตยที่ใช้ระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีและรัฐบาลต้องเป็นพรรคที่มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) มากเป็นอันดับหนึ่งของสภา เนื่องจากเป็นตัวแทนเสียงข้างมากของประชาชน แต่ทว่า ถ้าย้อนดูการเมืองไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน มีหลายยุคหลายสมัยที่พรรคการเมืองซึ่งมีจำนวน ส.ส. มากเป็นอันดับสอง สามารถจัดตั้งรัฐบาลแทนพรรคที่มีจำนวน ส.ส. มากที่สุด เป็นอันดับหนึ่ง ได้ เนื่องจากมีกลไกในการสืบทอดอำนาจอยู่ 
51091127365_9aaace2043_o
อ่าน

ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”

ศาลรัฐธรรมนูญถูกก่อตั้งขึ้นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 ด้วยความคาดหวังว่า ศาลจะเป็นองค์กรพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่วินิจฉัยข้อพิพาททางกฎหมายหรือตรวจสอบอำนาจรัฐให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังวิกฤติการเมืองที่เริ่มต้นในปี 2549 เป็นต้นมา ศาลรัฐธรรมนูญค่อยๆ ขยายบทบาทและเข้ามาเป็นผู้เล่นทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มที่เป็นปรปักษ์กับพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงข้างมากจากประชาชน
ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่
อ่าน

ชำแหละคำวินิจฉัยส่วนตน 9 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ: คดียุบพรรคอนาคตใหม่

หลังจากคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในคดียุบพรรคอนาคตใหม่ออกมาแล้ว หลายคนคงสงสัยว่าตุลาการแต่ละคนให้ความเห็นว่าอย่างไร เราได้ชำแหละคำวินิจฉัยออกมาให้ทุกคนได้เข้าใจไปพร้อมๆ กัน
49682457551_582f6e4883_o
อ่าน

เปิดเหตุผลตุลาการเสียงข้างน้อย เมื่อยุบพรรคแล้วให้ตัดสิทธิตลอดชีวิต

การที่กฎหมายไม่กำหนดระยะเวลาให้ชัดเจนว่า จะตัดสิทธิเลือกตั้งได้นานเท่าใด ทำให้เกิดการตีความ จนกระทั่งกรรมการบริหารพรรคการเมืองถูกเพิกถอนสิทธิรับสมัครเลือกตั้งตลอดชีวิตก็เป็นได้
party dissolve
อ่าน

No Penalty of Dissolving the Party for “Receiving the Donation Exceeding 10 Million”

The arguments against Constitutional Court’s decision to dissolve the Future Forward Party: the ‘Receiving the Donation Exceeding 10 Million’ under Section 66 of political parties law does not contain the punishment of party dissolvement and cannot be linked with Section 72.
49537173441_46b74b91d4_b
อ่าน

วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย

การละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงห้ามวิจารณ์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำด้วยความไม่สุจริตและใช้ถ้อยคำหรือความหมายที่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้ายอีกด้วย ซึ่งมีบทลงโทษสูงสุดคือ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
Dissolvement
อ่าน

“รับบริจาคเกิน 10 ล้าน” ไม่มีโทษยุบพรรค

ความเห็นแย้งต่อคำวินิจฉัยยุบพรรคอนาคตใหม่ของศาลรัฐธรรมนูญ การรับบริจาคเกิน 10 ล้านตามมาตรา 66 ของ พ.ร.ป.ว่าด้วยพรรคการเมือง ไม่มีโทษฐานยุบพรรค และไม่สามารถนำมาตรา 72 มาตีความใช้คู่กันได้ ผิดเจตนารมณ์