e0b981e0b89ce0b899e0b89be0b88fe0b8b4e0b8a3e0b8b9e0b89be0b89be0b8a3e0b8b0e0b980e0b897e0b8a8
อ่าน

คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ: เริ่มต้นด้วยคนหน้าซ้ำ-จบลงด้วยความไม่คืบหน้า

วันที่ 14 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา เป็นวันครบกำหนดวาระการดำรงตำแหน่งของคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ หลังจากดำรงตำแหน่งมาแล้วครบห้าปี นับตั้งแต่มีการแต่งตั้งครั้งแรกในปี 2560 ซึ่งที่ผ่านมา คณะรัฐมนตรีที่นำโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ทำการแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศไปแล้วถึงสองชุด โดยชุดแรกได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2560 และชุดที่สองได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2563
police reform
อ่าน

ปฏิรูปตำรวจ 8 ปี ตั้งกรรมการหน้าซ้ำหลายชุด แต่ผ่าน กม. ได้ฉบับเดียว!

กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม-ตำรวจ ลากยาวเกือบ 8 ปี ตั้งคณะกรรมการมาสานต่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมรวมถึงการปฏิรูปตำรวจรวม 6 ชุด หลายคนที่นั่งตำแหน่งกรรมการต่างๆ เป็นคนหน้าคุ้น เกี่ยวพันกับกลไกของคสช.ทั้งสิ้น
National Reform Plan's Progress
อ่าน

นับถอยหลังแผนการปฏิรูปประเทศต้องเห็นผลสิ้นปี 65 แต่ยังไม่บรรลุเป้า ตั้งเกณฑ์ง่าย ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง

รัฐธรรมนูญ 2560 ระบุให้แผนการปฏิรูปประเทศต้องเห็นผลในระยะเวลา 5 ปีหรือภายในสิ้นปี 2565 แต่ก็ดูเหมือนยังไม่เห็นผล รายงานความคืบหน้าแสดงให้เห็นว่ามีตัวชี้วัดหลายอย่างที่กำลังมีความเสี่ยงจะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ทัน อีกทั้งหลายตัวชี้วัดยังถูกเขียนมาในลักษณะที่ไม่ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงได้จริง และยังมีการตั้งเกณฑ์ไว้ต่ำทำให้การบรรลุตัวชี้วัดนั้นสามารถทำได้อย่างง่ายดาย
Revisiting National Reform Plan
อ่าน

ทบทวนกระบวนการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศ ล่าช้า ติดขัด กินเวลาเกือบ 2 ปีครึ่ง

กระบวนการจัดทำแผนตามกฎหมายที่ออกโดยสนช. ออกแบบให้แผนการปฏิรูปการประเทศซึ่งเป็นแผนย่อยจัดทำแล้วเสร็จก่อนยุทธศาสตร์ชาติ ทำให้ต้องมีการกลับมาทบทวนแก้ไขอีกครั้ง ซึ่งก็ต้องพบกับความล่าช้าเข้าไปอีกเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ขยายเวลาปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศออกไปและมีการตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศชุดใหม่เข้ามาจัดทำแทน เมื่อพิจารณาถึงเส้นตาย 5 ปีที่การปฏิรูปประเทศจะต้องเห็นผลแล้ว รัฐบาลต้องเสียเวลากับการร่างและแก้ไขแผนไปมากกว่าครึ่งหนึ่ง
National Strategy
อ่าน

ส่องนานาชาติ ทำยุทธศาสตร์อย่างไรให้เป็นประชาธิปไตย

แม้ยุทธศาสตร์ชาติของไทยดูจะมีภาพลักษณ์ในการสืบทอดอำนาจมากกว่า แต่ก็มีตัวอย่างจากต่างประเทศมากมายที่แสดงให้เห็นถึงการมียุทธศาสตร์ชาติที่เป็นประชาธิปไตย มีการตรวจสอบและทบทวนจากหลากหลายภาคส่วน และวางรากฐานสู่อนาคตอย่างแท้จริง
Submission
อ่าน

ภาคประชาชนบุกสภา แจ้งครบ 50,000 ชื่อแก้รัฐธรรมนูญแล้ว

16 กันยายน 2563 ไอลอว์พร้อมเครือข่ายภาคประชาชนยื่นหนังสือต่อประธานรัฐสภาเพื่อแจ้งว่าจะนำรายชื่อประชาชนที่รวบรวมได้ราว 70,000 คนซึ่งร่วมเข้าชื่อเสนอแก้ไขรัฐธรรมนูญมายื่นต่อสภาเพื่อให้สภานำไปพิจารณาร่วมกับร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ โดยนัดหมายที่จะนำรายชื่อที่ตรวจสอบแล้วทั้งหมดมายื่นในวันที่ 22 กันยายนนี้ 
wrong new normal
อ่าน

‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”

ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 
Nation plan commitee-01
อ่าน

เปิดค่าตอบแทนแบบใหม่ คกก.จัดทำยุทธศาสตร์ชาติ และ คกก.ปฏิรูปประเทศ

5 พฤษภาคม 2563 คณะรัฐมนตรี (ครม.) มติเห็นชอบตามผลการประชุมของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2563 ที่ให้เพิ่มค่าตอบแทนของคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติและคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ ขึ้นจากเดิมร้อยละ 20
No solution for PM2.5 pollution in thailand’s 20-year national strategy
อ่าน

เปิดดูแนวคิดการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พบว่า … ไม่มี

ท่ามกลางสภาพปัญหาอากาศเป็นพิษ เต็มไปด้วยฝุ่นควันขนาดเล็ก โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ภาครัฐก็ยังไม่มีความชัดเจนว่าจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไรให้ยั่งยืน เมื่อลองเปิดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่ คสช. ร่างขึ้น พบว่า ไม่มีการตระหนักถึงปัญหาฝุ่นขนาดจิ๋วเหล่านี้และไม่มีแนวนโยบายที่จะแก้ไขปัญหาเรื่องนี้เลย
-26662_๑๙๐๖๒๖_0012
อ่าน

ขั้นตอนออกกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ 2560

หลังเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอำนาจหลักพิจารณากฎหมายกลับทำงานอีกครั้ง  ถึงแม้ 5 ปีแรก ส.ว. มีอำนาจเท่า ส.ส. ในการออกกฎหมายการปฏิรูปประเทศก็ตาม แต่การออกกฎหมายทั่วไปมีขั้นตอน ได้แก่ 1) การเสนอร่างกฎหมาย 2) การพิจารณาของสภา ส.ส. และ ส.ว. 3) การประกาศใช้ โดยกฎหมายที่ออกมาส่วนใหญ่เรียกว่า พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)