Taweesilp
อ่าน

ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ได้ มีกฎหมายทดแทน

22 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ศบค. มีมติต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ออกไปอีกอย่างน้อยหนึ่งเดือน โดยอ้างความจำเป็นในการคงมาตรการรับมือโรคระบาด แต่ทว่า ถ้าย้อนดูจากมาตรการสำคัญที่ยังหลงเหลืออยู่ กลับเป็นการใช้อำนาจและกลไกปกติของกฎหมายต่างๆ อาทิ พ.ร.บ.โรคติดต่อ เป็นต้น 
Law's problem on Covid-19
อ่าน

ปัญหาทางกฎหมาย กรณี พล.อ.ประยุทธ์ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ รับมือโควิด 19

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เป็น "ยาแรง" เพื่อรับมือกับโควิด 19 โดยรวบอำนาจการแก้ไขปัญหามาอยู่ในมือของนายกรัฐมนตรี ออกข้อกำหนดรวมแล้วหกฉบับ กำหนดข้อห้าม เงื่อนไข คำแนะนำ สิ่งที่อนุญาตให้ทำได้ รวมทั้งมอบหมายอำนาจให้กับตำแหน่งต่างๆ ซึ่งมีปัญหาในทางกฎหมายต้องพิจารณากันว่าถูกต้องและใช้ให้มีผลในทางกฎหมายได้อย่างไร
COVID related
อ่าน

รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้ ช่วง COVID-19

ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สังคมและวิถีชีวิตของผู้คนต้องปรับตัวอย่างเฉียบพลันครั้งใหญ่ รัฐบาลออกกฎหมายและมาตรการใหม่ๆ อย่างเร่งด่วนจนประชาชนตามไม่ทัน หน้านี้รวมข้อกฎหมายอยากให้รู้เท่าที่ไล่ตามได้ทัน เพื่อการปรับตัวให้อยู่ร่วมกันภายใต้บรรยากาศแบบใหม่ให้ได้อย่างเท่าทันที่สุด
COVID-19 Government have power to control commodity price
อ่าน

กักตุนสินค้าควบคุม หน้ากากอนามัย-เจลล้างมือ ช่วงโควิด-19 เสี่ยงคุก 7 ปี

“โควิด-19” ระบาด ทำให้เกิดการกักตุนสินค้าอุปโภค บริโภค และอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น จนสินค้าบางชนิดขาดตลาด ทั้งนี้ พ.ร.บ.ราคาสินค้าและบริการ ให้อำนาจ รมว.พาณิชย์ประกาศควบคุมสินค้าและบริการได้ โดยถ้ากักตุนสินค้าควบคุมเกินกำหนดมีโทษสูงสุดจำคุกถึง 7 ปี หรือปรับ 140,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อ่าน

กฎหมายฮาเฮ : กักตุน – ของหมด – กฎหมายว่ายังไง?

ในภาวะน้ำท่วม คนแห่กันซื้อของกักตุนจนชั้นวางของในห้างว่างเปล่า เมื่อสินค้าขาดคนก็เดือดร้อนเพิ่มขึ้นอีก แบบนี้กฎหมายที่เรามีอยู่จะว่าไงบ้างล่ะนี้ จะลงโทษใคร? แก้ปัญหานี้ได้อย่างไรบ้าง?