Prayuth Out
อ่าน

เงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญ ที่พล.อ.ประยุทธ์ จะพ้นตำแหน่งนายกฯ

เงื่อนไขที่จะทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ “ต้อง” ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ รัฐธรรมนูญกำหนดไว้หลายช่องทาง ซึ่งการจะทำความเข้าใจวิธีการถอดถอนนายกรัฐมนตรีทั้งหมดได้ ต้องพิจารณาจากหลายมาตราประกอบกัน โดยเริ่มจากมาตราหลัก คือ มาตรา 170 
51351057382_5b95168a08_o
อ่าน

สรุปคำฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29 คืนเสรีภาพสื่อให้กับประชาชน

2 สิงหาคม 2564 กลุ่มสื่อมวลชนและภาคประชาชน อย่างน้อย 12 กลุ่ม เดินทางมาศาลแพ่ง (รัชดา) เพื่อยื่นฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดที่ออกตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่ให้อำนาจ กสทช. “ตัดเน็ต” ผู้โพสต์ข้อความอันอาจทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว เนื่องจากเป็นการใช้อำนาจที่ขัดต่อหลักนิติธรรม และยังเป็นการดำเนินการที่ไม่สอดคล้องกับหลักการพื้นฐานในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 
51298216373_977ccd2508_o
อ่าน

ถอนร่วมรัฐบาล: ความเป็นไปได้ของการ “เปลี่ยนม้ากลางศึก”

ความเป็นไปได้ของ "การเปลี่ยนม้าศึก" หรือเปลี่ยนตัวผู้นำรัฐบาล เพราะไม่เชื่อมั่นว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีจะไม่สามารถรับมือกับวิกฤติได้ แต่การจะ "เปลี่ยนม้าศึก" ได้หรือไม่ได้ เงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งคือ "ท่าทีของพรรคร่วมรัฐบาล" โดยเฉพาะพรรคประชาธิปัตย์และพรรคภูมิใจไทย 
Prayut PM does not endorse 15 bills about quality of people life and civil right
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : ประยุทธ์ปัดตกร่างกฎหมายถ่วงความก้าวหน้าและคุณภาพชีวิตประชาชน

หลังพล.อ.ประยุทธ์ เข้าดำรงตำแหน่งนายกฯ สมัยที่สอง ได้ใช้อำนาจในการไม่ให้คำรับรองกฎหมาย หรือ อำนาจในการปัดตกกฎหมาย ไปอย่างน้อย 21 ฉบับ และพบว่าในจำนวนดังกล่าวเป็น ร่างกฎหมายที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตประชาชน อย่างน้อย 11 ฉบับ และที่เกี่ยวกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อย่างน้อย 4 ฉบับ
-รธน
อ่าน

บทบาทและสถานะ “ศาลรัฐธรรมนูญ” หลังการรัฐประหาร

ศาลรัฐธรรมนูญ ถือเป็นองค์กรและกลไกสำคัญในยามที่ประเทศต้องการตัดสินชี้ขาดทั้งในแง่ของการใช้อำนาจรัฐหรือความสับสนของการตีความกฎหมาย ซึ่งแน่นอนว่า ผลของการตัดสินย่อมส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนในสังคม ด้วยเหตุนี้ ศาลรัฐธรรมนูญจึงต้องมีหลักประกัน "ความเป็นอิสระ" ไม่ให้ตกเป็นเครื่องมือของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ทว่า การรัฐประหาร ปี 2557 ได้ทำให้ความเป็นอิสระถูกเคลือบแคลง ประกอบกับผลคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่สร้างข้อกังขาขึ้นในสังคม
10 reasons
อ่าน

Ten reasons why ‘Prayut’ should not claim to an ‘elected Prime Minister’

Thailand’s joint-parliament voted to have General Prayut Chan-ocha continue as Prime Minister. Though his title may be more legitimate following the 2019 election than the 2014 coup, still the irregularities of his appointment should disqualify him from proudly claiming he is a fairly elected head of government.
10 reasons
อ่าน

สิบเหตุผลที่ “ประยุทธ์” ไม่ควรอ้างว่า เป็นนายกฯ จากการเลือกตั้ง

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับการโหวตจากทั้งสองสภาให้ได้เป็นนายกรัฐมนตรีต่อหลังการเลือกตั้ง แต่เนื่องจากความแปลกประหลาดที่เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่าในการเลือกตั้งที่ผ่านพ้นไป ก็ทำให้พล.อ.ประยุทธ์ และผู้สนับสนุน ไม่ควรยกมากล่าวอ้างอย่างเต็มภาคภูมิได้ว่า มีที่มาจากการเลือกตั้ง  
opportunities
อ่าน

“โอกาส” ของประเทศไทย ถ้า คสช. ไม่ได้สืบทอดอำนาจต่อหลังเลือกตั้ง

ตลอดเวลาเกือบ 5 ปี รัฐบาล คสช. มีแนวทางรวบอำนาจไว้สู่ศูนย์กลาง ไม่เน้นออกแบบประเทศโดยให้มีส่วนร่วม หากหลังการเลือกตั้ง คสช. ไม่ได้กลับมามีอำนาจต่อ ความฝันที่ประชาชนอยากจะเห็นแต่ถูกทำหมันไปโดย คสช. ก็จะกลับมามี “โอกาส” เริ่มเดินหน้าได้ต่ออีกครั้ง   
45383172_2176379009040115_5402733365587607552_n
อ่าน

พรรคไทยรักษาชาติ: น้องใหม่ที่ประกาศจะ ‘ทำทุกวิถีทาง’ ไม่ให้ พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกฯ อีก

วันนี้ (8 กุมภาพันธ์ 2562) เป็นวันสุดท้ายที่พรรคการเมืองต้องเสนอ 'บัญชีว่าที่นายกฯ' ไม่เกินสามรายชื่อต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง โดยพรรคที่สร้างแรงสั่นสะเทือนทางการเมืองคือ พรรคไทยรักษาชาติ ที่เสนอชื่อ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี พระราชธิดาองค์โตในพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่เก้า เป็นว่าที่นายกรัฐมนตรีที่พรรคจะเสนอเพียงคนเดียว
IMG_20181225151925000000
อ่าน

เลือกตั้ง 62: สี่ช่องทางให้ประยุทธ์ยังเป็นนายกฯ หลังเลือกตั้ง

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ควบตำแหน่งนายกรัฐมนตรี มาตั้งแต่ปี 2557 และชัดเจนว่ายังต้องการอยู่ในอำนาจต่อสังเกตอาการจากการแสดงท่าทีประกาศตัวเป็นนักการเมือง ทั้งนี้ยิ่งเมื่อดูกติกาเลือกตั้งก็เอื้อให้ พล.อ.ประยุทธ์ สามารถสืบทอดอำนาจต่อไปได้ ชวนอ่านสี่ทางช่องเพื่อให้ พล.อ.ประยุทธ์ ยังคงเป็นนายกฯ ต่อหลังการเลือกตั้ง