Executive Decree
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
Court ruled decree unconstitutional
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
TN Agentina
อ่าน

#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร

วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่ใช่ผู้ลี้ภัยสัญชาติไทยรายแรกที่ถูกอุ้มหายในประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่ปี 2559 มีผู้ลี้ภัยถูกอุ้มหายไปแล้ว 9 ราย แต่ก่อนที่จะสิ้นหวังในการตามหาความยุติธรรม เราอยากชวนผู้อ่านมองออกไปยังบริบทโลกเพื่อค้นหาบทเรียนและปัจจัยของความสำเร็จที่เคยเกิดขึ้นแล้ว     
Somchai to Wanchalerm
อ่าน

จากคดี “ทนายสมชาย” ถึงอุ้มหายวันเฉลิม จะเอาผิดคนร้ายในไทยได้ต้องแก้กฎหมายก่อน

ตัวอย่างจากคดีการหายตัวของทนายสมชาย ที่เอาผิดกับคนทำไม่ได้ ช่วยให้เราเรียนรู้ช่องโหว่ของกฎหมายสำหรับการอุ้มหายที่เกิดขึ้น 16 ปีให้หลัง กรณีของวันเฉลิมเหตุเกิดที่ต่างประเทศ แม้กฎหมายไทยเปิดช่องให้เอาผิดในไทยได้ แต่ปัญหาอยู่ที่ "ผู้เสียหาย" ที่จะเป็นคนริเริ่มคดี
14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกร
อ่าน

14 ปี ทนายสมชายหาย: กฎหมายต่อต้านการอุ้มหายยังไม่คืบหน้า ใช้มติคณะรัฐมนตรีตั้งกรรมการทำงานไปก่อน

วันที่ 12 มีนาคม 2561 มีการจัดงานครบรอบ 14 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในงานมีการวางดอกไม้รำลึกถึงทนายสมชาย โดยครอบครัว และมีเวทีเสวนาเรื่อง “พัฒนาการล่าสุดของ ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและบังคับสูญหาย”