Executive Decree
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
Court ruled decree unconstitutional
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
Parliament approved loan decree.
อ่าน

สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.กู้เงิน 1.9 ล้านล้าน: ส.ส. มีเสียงค้าน แต่ ส.ว.ผ่านฉลุย!

ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติเกี่ยวกับ พ.ร.ก.เงินกู้ สามฉบับ หลังจากมีการอภิปรายถึงห้าวัน ผลคือ เห็นชอบให้ผ่าน พ.ร.ก.ทั้งสามฉบับ และได้ส่งต่อไปให้วุฒิสภาพิจารณา และลงมติอีกครั้ง ซึ่งที่ประชุม ส.ว.ใช้เวลาทั้งหมดสองวัน และลงมติเห็นชอบทั้งสามฉบับโดยไม่มี ส.ว. คนใดไม่เห็นชอบเลย
wrong new normal
อ่าน

‘New Normal’ ทางกฎหมายแบบผิดๆ ผลพวงจากเวลา “6 ปี คสช.”

ภายใต้ยุคสมัยของ คสช. "กฎหมาย" ถูกหยิบมาใช้เป็นเครื่องมือสนองตอบอำนาจ ด้วยระยะเวลาที่ยาวนานทำให้เกิดความเคยชินที่เป็นอันตราย และเมื่อเข้าสู่ยุคสมัยของรัฐบาลที่ "พยายามจะมาจากการเลือกตั้ง" แนวทางการใช้กฎหมายแบบผิดๆ ยังคงสืบทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง 
โควิด-19 สู่ พ.ร.ก.ใหม่ ประชุมออนไลน์ต้องบันทึกภาพเสียง และเก็บ Log File
อ่าน

โควิด-19 สู่ พ.ร.ก.ใหม่ ประชุมออนไลน์ต้องบันทึกภาพเสียง และเก็บ Log File

วันที่ 19 เมษายน 2563 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ พ.ร.ก.ว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563 เพื่อใช้แทนกฎหมายเดิม มีการแก้ไขเรื่องสำคัญ เช่น ให้การประชุมออนไลน์ไม่ต้องให้ผู้เข้าร่วมประชุมอยู่ด้วยกันอย่างน้อย 1 ใน 3, ผู้ร่วมประชุมออนไลน์ทั้งหมดไม่จำเป็นต้องอยู่ภายในประเทศไทย, การประชุมต้องมีการเก็บข้อมูลจราจรอิเล็กทรอนิกส์ (Log File) และการจัดประชุมออนไลน์ต้องเตรียมการลงมติทั้งลับ และไม่ลับไว้ด้วย
กู้เงิน
อ่าน

พ.ร.ก.กู้เงินฯ: ช่องทางหาเงินพิเศษของรัฐบาลที่ต้องจับตา

เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจรวมถึงการรับมือกับปัญหาทั้งหมดทั้งมวลที่เกิดขึ้นภายหลังการระบาดของโคโรน่าไวรัสสายพันธ์ุใหม่ หรือ “โควิด-19” รัฐบาล คสช.2 เตรียมออกมาตรการกู้เงินพิเศษอย่างน้อย 1 ล้านล้านบาท โดยสิ่งที่น่าสนใจ คือ การกู้เงินดังกล่าวจะเป็นการใช้ “ช่องทางพิเศษ” ตาม พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ ซึ่งมีข้อจำกัดในการตรวจสอบแก้ไขวงเงินกู้ที่รัฐบาลต้องใช้ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
49716600857_e3d45267e7_o
อ่าน

“ออฟชั่นเสริม” เติมสภาพคล่องทางการคลังรับมือวิกฤติโควิด 19

การรับมือโรคระบาดนั้นสัมพันธ์กับการบริหารจัดการงบประมาณของรัฐ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน เยียวยา ทุกภาคส่วน แม้ปกติ รัฐบาลจะมี พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นกระเป๋าตังค์หลัก แต่ก็อาจไม่เพียงพอ จึงต้องมีออฟชั่นเสริม เติมสภาพคล่องให้รัฐบาล
49705801347_92ff9cc934_o
อ่าน

เครื่องมือทางการคลังในสถานการณ์ฉุกเฉิน

การแพร่ระบาดของโควิด 19 โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ได้สร้างผลกระทบอย่างใหญ่หลวงให้กับโลก ไม่ว่าจะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ดังนั้น การรับมือสถานการณ์วิกฤติรัฐต้องมีความเพียบพร้อมในการใช้เงินงบประมาณแก้ปัญหา แต่เนื่องจากการใช้งบประมาณต้องตราเป็นกฎหมายไว้ล่วงหน้าซึ่งอาจไม่ทันกาลกับวิกฤติ ดังนั้น รัฐธรรมนูญ และกฎหมายงบประมาณจึงมีมาตรการอื่นๆ ให้รัฐบาลสามารถเลือกใช้ได้
พระราชกำหนด 101: ทำความรู้จักกฎหมายในมือรัฐบาล
อ่าน

พระราชกำหนด 101: ทำความรู้จักกฎหมายในมือรัฐบาล

17 ตุลาคม 2562 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรนัดพิจารณาอนุมัติพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลฯ ทำไมสภาผู้แทนราษฎรถึงต้องพิจารณาพระราชกำหนด แล้วพระราชกำหนดนั้นแตกต่างจากพระราชบัญญัติอย่างไร จะขอสรุปไว้ในบทความนี้