52809350155_809e98cac6_o
อ่าน

เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?

พุทธศักราช 2563-2566 นับว่าเป็นช่วงเวลาประวัติศาสตร์ที่มีสถิติการบังคับใช้มาตรา 112 แบบแปลกๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ จำนวนผู้ถูกตั้งข้อหาในภาพรวมพุ่งสูงเกิน 200 คน, จำนวนคดีต่อคนสูงสุดอยู่ที่ 23 คดี, เกิดคดีการฟ้องทางไกลข้ามจังหวัดระยะทางกว่า 1,800 กิโลเมตร หรือมี “นักร้องหน้าซ้ำ” ที่ไปริเริ่มคดีไว้ที่สถานีตำรวจเดิมด้วยตัวเองมากถึงเก้าครั้ง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สถิติใหม่หนึ่งที่น่ากังวลใจ คือการนำกฎหมายดังกล่าวมาบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนเป็นครั้งแรก โดยจากข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ปัจจุบันมีเด็กและเยาวชนที่อายุไม่เกิน 18 ปีถูกดำ
52503365272_1a90fb845a_o (1)
อ่าน

สายน้ำ: คดีเยาวชนต้องถูกปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและเปิดเผยการพิจารณาได้

ภายหลัง “มาตรา 112” ถูกรัฐบาลนำกลับมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนอีกครั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 สถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ในจำนวนมากกว่า 200 คดี มี 20 คดีที่ผู้ถูกดำเนินคดียังเป็นเยาวชน รวมทั้งหมด 17 คน (ข้อมูลล่าสุดเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2565) นี่เป็น “ครั้งแรก” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีการนำกฎหมายมาตราดังกล่าว ซึ่งมีโทษสูงสุดถึง 15 ปี มาบังคับใช้กับเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี สายน้ำ (สงวนชื่อและนามสกุลจริง) อดีตนักเรียนมัธยมปลาย เป็นหนึ่งในเยาวชน
52361992415_2dbe3471da_k
อ่าน

เพชร ธนกร : ในขั้นตอนของคดีเยาวชนที่มีแต่สร้างภาระเพิ่ม

ภาพนักเรียนมัธยมผูกโบขาวชูสามนิ้วระหว่างเคารพธงชาติที่ถูกเผยแพร่ในช่วงปี 2563 คือหลักฐานยืนยันว่า กระแสความตื่นตัวทางการเมืองในช่วงเวลานั้นเกิดขึ้นในหมู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ หลายคนอายุยังไม่ถึง 18 ปี แต่มีบทบาทสำคัญที่ไม่เพียงไปเข้าร่วมการชุมนุมเท่านั้น แต่ยังขึ้นเวทีปราศรัยสลับกับรุ่นพี่ๆ ด้วย หลายคนพูดถึงปัญหาที่เขาพบเจอในชีวิตประจำวัน เช่น ระบบการศึกษาที่ล้าหลัง หรือระบบอำนาจนิยมในโรงเรียนที่สะท้อนผ่านเครื่องแบบ พิธีกรรม และทรงผมมาบอกเล่าให้ผู้ร่วมชุมนุมฟัง และต่อมาเยาวชนหลายคนก็แสดงออกถึงข้อเรียกร้องเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์อย่าง “ตรงไปตรงมา”  และเมื่อม
49869674897_f4eef7f033_o
อ่าน

รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”

ที่ผ่านมาระหว่างการต่อสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยกฎหมายและเครื่องมือใหม่ๆ แนวทางที่บุคลากรของภาครัฐปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกัน คือ การแสดงออกในลักษณะ "ข่มขู่" หรือสร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน การข่มขู่อาจมาในลักษณะคำพูดที่สร้างความไม่มั่นคงให้แก่หน้าที่การงาน หรือการเตือนว่า การกระทำที่สวนทางกับรัฐอาจนำมาซึ่งการดำเนินคดีตามกฎหมาย
Prayut
อ่าน

คสช.แก้ป.วิอาญา ลดอำนาจผู้ว่าราชการจังหวัด ในการสั่งฟ้อง/ไม่ฟ้องคดี

คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ออกประกาศฉบับที่ 115/2557 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีความอาญา ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่สำหรับกระบวนการยุติธรรมไทย เพราะมีการแก้ไขอำนาจของผู้ที่จะสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้องคดีในต่างจังหวัดจากผู้ว่าฯ เป็น ผู้บัญชาการภาคหรือรองผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค