senator vote [constitution ver.3]
อ่าน

เทียบผลลงมติของ ส.ว. สามภาค ยิ่งนานยิ่งเสียงไม่แตก ปกป้องอำนาจตัวเอง

ตั้งแต่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2560 มีความพยายามแก้ไขทั้งหมดสามภาค คือ มีการเสนอและเปิดการประชุมของรัฐสภาเพื่อพิจารณาลงมติกันแล้วทั้งหมดสามครั้ง ชวนดูบทวิเคราะห์การลงมติของส.ว.ทั้งสามภาค ดังนี้ 
electoral system amendment
อ่าน

เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล

24 ส.ค.2564 การแก้ไขรัฐธรรมนูญว่าด้วยระบบเลือกตั้งเข้าสู่การพิจารณาวาระที่สอง แต่การแก้ไขไม่ได้เป็นความเห็นพ้องต้องกันของรัฐสภา โดยเฉพาะซีกของ ส.ส. ที่แบ่งออกเป็นสองฝ่าย แต่ไม่ใช่ฝ่ายค้านกับฝ่ายรัฐบาลเช่นที่เราคุ้นเคย  
51262615777_554f8bdeb2_c
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปร่างเพื่อไทย 2 รูปธรรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ เลิกข้อยกเว้นศาล ตัดมรดก คสช.

ศึกแก้ไขรัฐธรรมนูญ ภาคสอง พรรคเพื่อไทยในฐานะพรรคแกนนำฝ่ายร่วมค้านเสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแยกเป็น ห้าฉบับ ห้าประเด็น อย่างไรก็ตามประเด็นการตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. เพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับถูกปัดตกไปตั้งแต่ยังไม่เริ่มพิจารณาในสภา ส่งผลให้ร่างรัฐธรรมนูญของพรรคเพื่อไทยที่จะเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาเหลือเพียงสี่ประเด็น  
Switch Senate
อ่าน

ส.ว.แต่งตั้ง : ถึงเวลาต้องปิดสวิตซ์ตัวเอง

ศึก #แก้รัฐธรรมนูญ ภาคสองที่กำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 22-24 มิถุนายน 2564 ข้อเสนอสำคัญที่พรรคการเมืองทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล ยกเว้นพรรคพลังประชารัฐและพรรคชาติไทยพัฒนา พร้อมใจกันยื่น คือ การตัดอำนาจ ส.ว. ซึ่งในการแก้ไขเรื่องดังกล่าวคงไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะต้องอาศัยเสียงเห็นชอบจากตัว ส.ว. เองไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 หรือประมาณ 84 คนจากเสียงทั้งหมด 250 คน
51014775333_66d44ffcc2_c
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: จับตาวาระสาม “สองประเด็น-สองเงื่อนไข-หนึ่งประชามติ”

หลังจากสภามีมติเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญวาระที่สองเสร็จสิ้นไปแล้ว ขั้นตอนถัดไปคือการพิจารณาในวาระสามซึ่งเป็นวาระสุดท้าย หากรัฐสภามีมติเห็นชอบก็ให้ดำเนินการเพื่อประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป แต่ทว่าเกมส์การแก้รัฐธรรมนูญในวาระสามไม่ใช่เรื่องง่าย หาก ส.ว.หรือพรรคฝ่ายค้านรวมตันกันไม่เห็นด้วย
50978986622_a17b6e52b9_b
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: ถึงรัฐธรรมนูญจะแก้ง่ายขึ้นแต่เกมส์การแก้ยังอยู่ในมือ คสช.

มาตรา 256 ของรัฐธรรมนูญ 2560 หรือมาตราที่ว่าด้วยหลักเกณฑ์วิธีการแก้รัฐธรรมนูญ คือ กุญแจสำคัญในการปลดล็อกการเมืองไทยออกจากวังวนอำนาจของคสช. และพาประเทศกลับสู่ระบอบประชาธิปไตยเต็มไปได้อีกครั้ง ด้วยเหตุนี้ จึงมีความพยายามของรัฐสภาที่จะแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญในวาระสองเพื่อทำให้รัฐธรรมนูญแก้ง่ายขึ้น โดยให้ใช้เสียง "สามในห้า" ของรัฐสภา แต่ทว่า หลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวก็ยังคงทำให้คสช. เป็นฝ่ายได้เปรียบอยู่ดี  
50979493572_30180efe10_b
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปผลการประชุมรัฐสภาในวาระสอง

24 และ 25 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมร่วมของรัฐสภาซึ่งประกอบด้วยสภาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) และ สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ..) พุทธศักราช ….  ฉบับที่คณะกรรมาธิการ (กมธ.แก้รัฐธรรมนูญฯ) ได้พิจารณาเสร็จสิ้นแล้ว
recon-2
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา

24 ก.พ. 64 รัฐสภาลงมติร่างแก้รัฐธรรมนูญวาระสอ โดยคงมาตรา 3 ซึ่งเป็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 ตามร่างแก้รัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบในวาระหนึ่ง
parliament meeting
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา พิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญ และ ร่าง พ.ร.บ. รวมกันสี่ฉบับ

24-25 ก.พ. 64 รัฐสภาจะพิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญ วาระสอง รวมถึงร่างกฎหมายอีกสามฉบับ
อ่าน

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบจากรัฐสภา

18 พฤศจิกายน 2563 รัฐสภามีวาระพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญเพื่อนำไปสู่การเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ จากร่าง 7 ฉบับ โดยร่างแก้รัฐธรรมนูญฉบับภาคประชาชน “ไม่ผ่าน” ความเห็นชอบของรัฐสภา