How the foreign governments lost their referendum.
อ่าน

ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน

ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
referendum in Italy and Chile
อ่าน

จากอิตาลีถึงชิลี ย้อนดูประชามติเปลี่ยนประเทศสู่ประชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลกที่ผ่านมา มีการจัดประชามติหลากหลายครั้งที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการเมืองขนานใหญ่ กรณีของอิตาลีในปี 2489 และชิลีในปี 2563 แสดงให้เห็นถึงแรงกดดันจากประชาชนที่สั่นสะเทือนทำให้แม้แต่สถาบันกษัตริย์หรือรัฐธรรมนูญของเผด็จการก็ต้องล้มหายไป
Switzerland Referendum
อ่าน

ประชามติสวิตเซอร์แลนด์: ประชามติที่มาจากเจตจำนงของพลเมือง

ประชามติของประเทศสวิตเซอร์แลนด์จะเกิดขึ้นตามเจตจำนงของพลเมืองเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากการทำประชามติที่ริเริ่มจัดทำขึ้นโดยรัฐบาล (Plebiscite) ที่มักมีไว้เพื่อสร้างความชอบธรรมให้ผู้มีอำนาจ ที่สวิตเซอร์แลนด์ รัฐบาลหรือรัฐสภาไม่สามารถสั่งให้ทำประชามติขึ้นเองแต่ต้องเกิดจากประชาชน และผลของการทำประชามติเป็นสิ่งที่รัฐบาลต้องทำตาม ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม
Myanmar protestor
อ่าน

ประชามติพม่า: เผด็จการรณรงค์ข้างเดียว เข็นประชามติเปิดทางทหารอยู่ต่อหลังเลือกตั้ง

พม่าลงประชามติรับร่างรัฐธรรมนูญในปี 2008 ซึ่งเป็นหนึ่งขั้นของโรดแมปไปสู่ประชาธิปไตยของรัฐบาลทหาร ระหว่างการทำประชามติมีทั้งข้อกล่าวหาเรื่องการโกง การโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาล และการจับกุมฝ่ายเห็นต่าง จนกระทั่งพายุนาร์กีส ผลออกมาโหวตรับท่วมท้น 93% 
อ่าน

ประชามติอียิปต์: ร่างรัฐธรรมนูญ 3 ครั้งใน 5 ปี เลือกตั้งแล้วได้ผู้นำไม่ดีเลยต้องเชื่อมือทหาร

การเมืองของอียิปต์ยุคใหม่ เริ่มตั้งแต่ปี 2011 เมื่อขับไล่เผด็จการได้สำเร็จ แต่ชาวอียิปต์ก็ยังไม่ได้ประชาธิปไตยจริงๆ เมื่อรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งใช้ไม่แคร์ประชาชน จนทหารต้องมายึดอำนาจ ในรอบ 5 ปี อียิปต์ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ 3 ครั้ง และทำประชามติ 3 ครั้ง ในบรรยากาศที่ต่างกัน
Brexit
อ่าน

ประชามติBrexit: ประชาธิปไตยไม่จำเป็นต้อง “ได้ดังใจ”

เกมกีฬาใดๆ ย่อมมีผู้แพ้และผู้ชนะ ประชาธิปไตยก็เช่นกัน บทเรียนจากความอกหักของประชามติ Brexit ในสหราชอาณาจักร สะท้อนวัฒนธรรมและการเรียนรู้ในสังคมประชาธิปไตย
Sri lanka president
อ่าน

ประชามติศรีลังกา-บังกลาเทศ: ลงคะแนนต่ออายุเผด็จการภายใต้กฎหมายพิเศษ

ศรีลังกา และบังกลาเทศ มีประสบการณ์เกี่ยวกับประชามติที่ไม่ค่อยดีนัก เมื่อผู้นำในอดีตใช้ประชามติเป็นเครื่องสร้างความชอบธรรม ต่ออายุให้อยู่ในอำนาจได้นานขึ้น และการทำประชามติก็เป็นไปใต้บรรยากาศของเผด็จการและกฎหมายพิเศษ
อ่าน

ประชามติเคนย่า: รับร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อออกจากยุคเผด็จการและความรุนแรง

ระหว่างการทำประชามติของเคนย่าในปี 2010 ฝ่ายรณรงค์รับร่างใช้สีเขียวทำกิจกรรม ฝ่ายไม่รับร่างใช้สีแดง คุ้นๆ บรรยากาศเหมือนเคยเกิดขึ้นในไทยมาก่อน บัตรเลือกตั้งเคนย่าใช้รูปกล้วยกับรูปส้ม เพราะกลัวคนอ่านหนังสือไม่ออก
Scottish Referendum
อ่าน

ประชามติสก็อตแลนด์: กกต.คุมแคมเปญที่การใช้จ่ายเงิน

ย้อนดูกฎกติกาการทำประชามติที่สหราชอาณาจักร เรื่อง สก็อตแลนด์จะเป็นเอกราช หรือไม่ กกต.ของเขาดูแลการจัดรณรงค์ด้วยการเปิดให้จดทะเบียน แคมเปญใหญ่อาจถูกตรวจสอบเงิน ส่วนแคมเปญเล็กทำได้อิสระ ผลที่ออกมาฝ่ายแพ้ประกาศยอมรับ