Welfare in Constitution
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
welfare issue on constitution
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สวัสดิการที่ยังไม่ชัดเจน และเปิดช่องว่างกว่าฉบับก่อนๆ

รัฐธรรมนูญไทยในอดีตเคยวางร่องรอยของการจัดสวัสดิการไว้และยึดมั่นในหลักการบางประการมาอย่างต่อเนื่อง ทว่ารัฐธรรมนูญ 2560 ได้ปรับเปลี่ยนถ้อยคำเล็กๆ น้อยๆ ที่เคยมีอยู่ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ คล้ายวางกับดักเป็นช่องว่างให้รัฐมีภาระการดูแลสวัสดิการประชาชนลดถอยลง
Right and Liberty under State's Security
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560 : สิทธิเสรีภาพที่อยู่ภายใต้ “ความมั่นคงของรัฐ”

รัฐธรรมนูญ 2560 แม้จะรับรองหลักความเสมอภาค หลักห้ามเลือกปฏิบัติ และสิทธิเสรีภาพไว้หลายประการ ทว่าก็ยังขาดความชัดเจนในบางประเด็น รายละเอียดหลายประการที่เปลี่ยนแปลงไปจากรัฐธรรมนูญในอดีต และยังเต็มไปด้วยข้อจำกัดมากมาย ที่ส่งผลให้การใช้สิทธิเสรีภาพของประชาชนยังต้องอยู่ภายใต้ "ความมั่นคงของรัฐ"
Movie Review_Thumbnail-Elysium
อ่าน

Elysium: หนังสะท้อนความเหลื่อมล้ำในการรักษาพยาบาลและชีวิตผู้อพยพในสังคมอเมริกา

iLaw’s Movie Pick เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ไอลอว์อยากเปิดพื้นที่ให้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ จึงได้จัดกิจกรรมให้คนทั่วไปส่งผลงาน "รีวิวหนัง" เข้ามาแชร์กัน
02
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: สิทธิทางสาธารณสุข เพิ่มสิทธิมารดา คำว่า “สิทธิเสมอกัน” หายไป

สิทธิทางด้านสาธารณสุขในร่างรัฐธรรมนูญ เป็นประเด็นที่กระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกคน ขณะที่คนร่างโปรโมตร่างรัฐธรรมนูญนี้ว่าคุ้มครอง “ตั้งแต่ท้องแม่จนถึงแก่เฒ่า” ข้อกังวลของสังคมคือ ถ้าหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ผ่านจะเปิดทางให้ “ยกเลิกบัตรทอง” ในอนาคตหรือไม่