อ่าน

รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

29 มีนาคม 2567 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นชอบให้ส่งเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้วินิจฉัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่าการเสนอแก้รัฐธรรมนูญเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) รัฐสภาจะมีอำนาจในการลงมติพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 233 เสียง ไม่เห็นด้วย 103 เสียง และงดออกเสียง 170 เสียง
constitution amendment
อ่าน

จับตา! #แก้รัฐธรรมนูญ season 4 ปิดสวิตช์ส.ว. เลือกนายกฯ – นายกฯ ต้องเป็นส.ส.

6-7 ก.ย. 2565 รัฐสภามีกำหนดนัดพิจารณา #แก้รัฐธรรมนูญ จากร่างหกฉบับ หนึ่งฉบับ เสนอโดยภาคประชาชนหกหมื่นกว่ารายชื่อ ร่วมกันเข้าชื่อเพื่อเสนอปิดสวิตช์ส.ว. ในการเลือกนายกรัฐมนตรี สามฉบับ เสนอโดยส.ส.พรรคเพื่อไทย แก้หลายประเด็น และอีกหนึ่งฉบับ เสนอโดยส.ส.พรรคภูมิใจไทย เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 120 เกี่ยวกับการกำหนดองค์ประชุม
parliament meeting 1-4 aug 2022
อ่าน

จับตา! ประชุมสภา โหวตกฎหมายลูกเลือกตั้ง-เคาะกรรมการป.ป.ช.

1-4 ส.ค. 2565 มีการประชุมสภาหลายนัด ทั้งวุฒิสภา นัดลงมติให้ความเห็นชอบผู้ได้รับการเสนอชื่อดำรงตำแหน่งป.ป.ช. สภาผู้แทนราษฎร พิจารณาร่างกฎหมาย เช่น ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ที่เสนอมาเพื่อใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และรัฐสภา (ส.ส. + ส.ว.) พิจารณาร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. 
election bill
อ่าน

กฎหมายลูกเลือกตั้งส.ส. ส่อแววช้า วุ่นสืบเนื่องปมแก้สูตรคำนวณส.ส.บัญชีรายชื่อ “หาร 500”

26 กรกฎาคม 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีมติให้กมธ. ร่างพ.ร.ป.การเลือกตั้งส.ส. นำร่างกลับไปทบทวนใหม่ สืบเนื่องจากปมการโหวตพลิกขั้ว แก้ไขร่างจากสูตรคำนวณส.ส.แบบบัญชีรายชื่อจาก "หาร 100" เป็น "หาร 500"
political parties bill
อ่าน

รัฐสภารับหลักการร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองจากครม.-พรรคร่วมรัฐบาล คว่ำร่างพรรคฝ่ายค้านเรียบทุกฉบับ

25 ก.พ. 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภามีมติ “รับหลักการ” ร่างพ.ร.ป.พรรคการเมืองเพียงสามฉบับ คือร่างที่เสนอโดยครม. และร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคพลังประชารัฐสองฉบับ ขณะที่ร่างที่เสนอโดยส.ส.พรรคฝ่ายค้านสามฉบับ รัฐสภามีมติ “ไม่รับหลักการ” ทั้งหมด 
Parliament submits ruling to the Constitutional Court
อ่าน

รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?

9 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นด้วย 366 ต่อ 315 เสียง ให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นปัญหาอำนาจและหน้าที่ของรัฐสภา ว่ามีอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
Round-up The Parliament First Session-How did MPs and Senates do?
อ่าน

Roundup การประชุมสภาสามัญสมัยแรก ภายใต้ยุค คสช. 2 ส.ส. และ ส.ว. ทำอะไรไปกันแล้วบ้าง?

จบลงไปแล้วสำหรับการประชุมสภาสมัยแรก ส.ส. ได้ออกมาวาดลวดลายอภิปรายประเด็นปัญหาต่างๆ ในสภา บรรยากาศการเมืองที่เห็นได้ยากยิ่งในยุค คสช. สภาผู้แทนราษฎรได้พยายามอย่างยิ่งที่จะเล่นบทตรวจสอบรัฐบาลผ่านการตั้งกระทู้ถามและอภิปรายทั่วไปโดยไม่ลงมติ แต่ยังห่างไกลกับการทำหน้าที่นิติบัญญัติ เพราะออกกฎหมายสำเร็จเพียง 2 ฉบับเท่านั้น  
5-ข้อควรรู้ก่อเลือกนายกรัฐมตรี_TH
อ่าน

5 ข้อควรรู้ก่อนการประชุมสภาเลือกนายกรัฐมนตรี

วันนี้ (5 มิถุนายน 2562) เวลา 11.00 น. จะมีการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 1 เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี ที่หอประชุมใหญ่ อาคาร 9 ชั้น 2 บริษัท ทีโอที จำกัด มหาชน แต่ก่อนจะไปลุ้นกันในสภา ไอลอว์ขอพาทุกคนไปพบกับ 5 ข้อที่ควรรู้ก่อนการประชุมสภาเลือกนายกรัฐมนตรี
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
NCPO's Senate Can choose PM
อ่าน

คำถามพ่วง: เห็นชอบให้ส.ว.ที่มาจากการแต่งตั้ง ร่วมกับ ส.ส.เลือกนายกฯ หรือไม่?

การออกเสียงประชามติ 7 ส.ค.มีสองคำถามซึ่งคำถามที่สองแปลให้ง่าย ได้ว่า "เห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ให้ ส.ว.ร่วมกับส.ส.เลือกนายกฯ ในช่วงห้าปีแรก" ซึ่งส.ว.ชุดดังกล่าวมี 250 คนมาจากการแต่งตั้งของคสช. ทั้งหมด ส.ว.ชุดนี้จะมีสิทธิเลือกนายกฯ อย่างน้อยสองครั้ง หรือให้ผลยาวนานอย่างน้อยแปดปี