IMG_1370
อ่าน

ต้องชัดเจนและคุ้มครองสิทธิ ดูบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนากฎหมาย ‘ละเมิดอำนาจศาล’

ในช่วงเวลาประมาณสิบปีที่ผ่านมา สถาบันศาลเข้ามามีบทบทในพื้นที่สาธารณะโดยเฉพาะในการเมืองไทยมากขึ้น เพราะท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมือง การใช้สิทธิทางศาลถือเป็นวิธีการหนึ่งที่คู่ขัดแย้งทางการเมืองเลือกเดินเพื่อต่อสู้กับฝ่ายตรงข้าม เช่น การฟ้องคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ในความผิดฐานกบฎต่อศาลอาญา โดยคนที่ไม่เห็นด้วยกับการรัฐประหาร การฟ้องศาลแพ่งให้เพิกถอนการประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ชินวัตร รวมทั้งยังมีกรณีที
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 3: ค้านไม่ต้อง-เห็นชอบครับ! สนช. 90% ไม่แตกแถว

ตลอดสองปีกว่า สนช.ผ่านร่างพ.ร.บ.อย่างน้อย 214 ฉบับ ผลการลงมติร่างกฎหมายฉบับต่างๆ จะผ่านความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงข้างมากเกิน 90% ทุกฉบับ ใน ร่างพ.ร.บ.ที่สังคมมีการถกเถียงกันอย่างแพร่หลาย ก็พบว่าไม่มีร่างพ.ร.บ.ฉบับไหน ที่เสียงข้างมากจะมีมติไม่เห็นชอบเลย
thumb
อ่าน

สำรวจกฎหมายไทย-ระหว่างประเทศ ทหารลักพาตัวแอดมินเพจไป 8 วัน ผิดกฎหมายอะไรบ้าง

จากข่าวร้อนในช่วงหลายวันที่ผ่านมา กรณีทหารและตำรวจกว่า 30 นายบุกเข้าจับกุมตัว สราวุธ บำรุงกิตติคุณ ผู้ดูแลเพจ“เปิดประเด็น” ไปจากบ้านพักในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม 2559 จนกระทั่งปล่อยตัวในวันที่ 16 มีนาคม 2559 โดยให้ญาติมารับจากค่ายวิภาวดีรังสิต จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อเวลาประมาณ 8.00 น.
Lartsak: type of the Thai junta law
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน  ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ในการใช้ชีวิตของประชาชน
IMG_0043
อ่าน

เบื้องหลังเหตุทหารกดดันถอดรูปนิทรรศการเสรีภาพ “ปล่อยปีก” ของคนรุ่นใหม่

งาน “ปล่อยปีก” กิจกรรมที่สร้างพื้นที่ให้คนรุ่นใหม่กลุ่มหนึ่ง กลายเป็นกิจกรรมที่มีเรื่องราวเบื้องหลังและความทรงจำมากมาย เมื่อทหารที่ดูแลพื้นที่จับตาอย่างใกล้ชิดและแทรกแซงบู๊ทนิทรรศการ จนช่วงท้ายงานมีการขู่ว่าจะดำเนินคดีเนื่องจากกิจกรรมในพิธีปิดและการอ่านแถลงการณ์ ครั้งนี้นับเป็นครั้งที่สองแล้วที่มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคมจัดโครงการ ‘คนรุ่นใหม่เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม’ โครงการที่เปิดพื้นที่
Reseave Military Act Parchamati
อ่าน

92% ไม่เห็นด้วยเรียก ‘กำลังพลสำรอง’ หวั่นเปิดช่องคอร์รัปชั่น

เปิดผลโหวตเว็บประชามติ 92 % ไม่เห็นด้วย การเรียกกำลังพลสำรอง เพราะกำลังพลปัจจุบันมีจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อนายจ้างที่ยังต้องจ่ายเงินเดือน เพิ่มภาระทางครอบครัวต่อคนทำงาน และอาจเปิดช่องให้มีการคอร์รัปชั่น แนะควรเพิ่มประสิทธิกองทัพด้วยเทคโนโลยีมากกว่าปริมาณกำลังพล 
reseave military bill
อ่าน

รด.ไม่ช่วยอะไร เมื่อเจอกฎหมายกำลังพลสำรอง

สนช.ร่าง พ.ร.บ.กำลังพลสำรอง โดยเนื้อหาให้ทหารกองหนุน กลับมาฝึกวิชาทหารอีกครั้งพื่อการเตรียมความพร้อมในกิจการของกระทรวงกลาโหม โดยหากฝ่าฝืนไม่เข้ารับราชการทหารมีโทษสูงสุดติดคุกสี่ปี ในส่วนของนายจ้างหากไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างซึ่งต้องรับราชการทหารในวันลามีโทษปรับสองหมื่นบาท
อ่าน

คำถามต่อ “เรือนจำในค่ายทหาร” กับ “ความจำเป็นด้านความมั่นคง”

เรือนจำพิเศษเป็นสถานที่ไว้ขังผู้ต้องหาที่ยังไม่ถูกตัดสินจากศาลทั่วไป เดือนก.ย.2558 มีการตั้งเรือนจำพิเศษที่ มทบ.11 ถึงวันที่ 9 พ.ย.2558 มีผู้ต้องหาเสียชีวิตจากที่นั่น 2 คน ชวนตั้งคำถามถึงความไม่ชอบมาพากลในการนำผู้ต้องหาไปไว้ในการดูแลของทหาร
อ่าน

บทเรียนจากกวางจู “ประวัติศาสตร์ที่ไม่ถูกจดจำจะถูกซ้ำรอยเดิม”

เรื่องราวของขบวนการประชาธิปไตยที่กวางจูและเกาหลีใต้ไม่เป็นที่รับรู้มากนักในสังคมไทย ช่วงเวลาประมาณสองสัปดาห์ที่กวางจูทำให้ผู้เขียนเห็นภาพเปรียบเทียบบางอย่างของเกาหลีใต้กับประเทศไทย จึงขอนำประสบการณ์จากการเดินทางครั้งนี้มาแบ่งปัน
Who are thought about referendum
อ่าน

‘ประชามติ’ รัฐธรรมนูญใหม่ ใครคิดยังไง?

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ของ คสช. ใกล้จะเสร็จสินในช่วงกลางปี 2558 ขณะเดียวกันตั้งแต่ต้นปีนี้เอง เสียงเรียกร้องให้มีการทำประชามติจากหลายฝ่ายก็ดังมากขึ้น ลองดูใครคิดอย่างไรเกี่ยวกับประชามติรัฐธรรมนูญบ้าง ?