Forest Seminar all
อ่าน

ชาวบ้านเสนอ “แผนจัดการร่วม” แทนปฏิบัติการ “ทวงคืนผืนป่า” และเอาเกษตรกรเข้าคุก

เกษตรกรถูกพิพากษาให้จำคุกจากกรณีประกาศเขตป่าทับที่เป็นปัญหาเรื้อรังและยิ่งรุนแรงภายใต้นโยบายของ คสช. ด้านชาวบ้านเสนอ "แผนจัดการร่วม" เพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าโดยไม่ต้องดำเนินคดี ฝ่ายรัฐยังตัดสินใจล่าช้าทั้งที่มีมติคณะรัฐมนตรีรองรับ คณิต ณ นคร ยังเสนอว่า อัยการอาจสั่งไม่ฟ้องคดีได้แต่ไม่มีใครกล้า นักสิทธิเสนอ ต้องนั่งคุยกันใหม่มีกระบวนการแก้ไขเยียวยา
cats-crop_344
อ่าน

แถลงการณ์ “หยุดนโยบายทวงคืนผืนป่า คืนความเป็นธรรมให้คนจน”

เครือข่ายภาคประชาสังคมกว่า 60 องค์กรออกแถลงการณ์ให้ยกเลิกนโยบาย และยุติการปฏิบัติการตามแผนการทวงคืนผืนป่า ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยทันที
Saithong
อ่าน

สรุปสถานการณ์หลังศาลอุทธรณ์อ่านคำพิพากษา 14 ชาวบ้าน คดีไทรทอง

ศาลอุทธรณ์ภาค 3 แผนกคดีสิ่งแวดล้อม เริ่มอ่านคำพิพากษาคดีไทรทอง ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2562 โดยเริ่มจากคดีของนิตยา ม่วงกลาง แกนนำต่อสู้สิทธิที่ดินในชุมชนดังกล่าว จนกระทั่งอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ครบหมดทุกคดี เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2562 โดยทุกคดีศาลอุทธรณ์ยังตัดสินให้ชาวบ้านมีความผิด และสั่งลงโทษจำคุก 13 คดี และรอลงอาญาเพียงหนึ่งคดี 
saithong
อ่าน

ไล่เรียงข้อเท็จจริง กรณีปัญหาอุทยานแห่งชาติไทรทองทับที่ดินของชาวบ้าน

เกษตรกรหลายครัวเรือนเข้าบุกเบิกพื้นที่ตั้งแต่ช่วงปี 2500-2520 จนกลายเป็นหมู่บ้าน ปี 2535 มีการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติไทรทองรวมเอาพื้นที่ทำเกษตรและที่อยู่อาศัยของชาวบ้านเข้าไปด้วย ชาวบ้านเรียกร้องให้มีการแก้ไขปัญหาระดับนโยบายแต่ยังไม่คืบหน้า ชาวบ้านอย่างน้อย 14 คนถูกดำเนินคดี และถูกจำคุกในข้อหา "บุกรุกป่า"
Book Launch "Jai Pan Din" a book about Karen Indigenous in Kangkrachan Forest
อ่าน

เปิดตัวหนังสือ “ใจแผ่นดิน” บันทึกการต่อสู้ว่าคนอยู่กับป่าได้ ของชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน

3 กรกฎาคม 2562 มูลนิธิผสานวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ ร่วมกันเปิดตัวหนังสือ “ใจแผ่นดิน แผ่นดินกลางใจกะเหรี่ยงแก่งกระจาน” และพูดคุยถึงการต่อสู้ของชาวกระเหรี่ยงเพื่อทวงคืนบ้านเกิด 'หมู่บ้านใจแผ่นดิน' ที่ถูกขับไล่ออกมาหลังประกาศให้เป็นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
Saithong Villagers
อ่าน

“19 คดีไทรทอง” เมื่อชาวบ้านจ.ชัยภูมิ เตรียมเรียงหน้าเข้าคุก ตามนโยบาย “ทวงคืนผืนป่า”

ชาวบ้านในพื้นที่ อ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภูมิ ได้รับผลกระทบจากนโยบาย "ทวงคืนผืนป่า" และการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติไทรทองทับพื้นที่ของชาวบ้าน ระหว่างการเจรจาหาทางออก มีชาวบ้านถูกดำเนินคดีอย่างน้อย 14 คน แยกเป็น 19 คดี ทุกคดีจำเลยให้การปฏิเสธและต่อสู้คดียืนยันถึงสิทธิที่อยู่อาศัยในที่ดินมาก่อน 
(People Go)_ทวงคืนผืนป่า-01
อ่าน

ไม่มีนโยบายทวงคืนผืนป่า มีแต่การแย่งยึดที่ดินชาวบ้านใต้เงา คสช.

หลังคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ายึดอำนาจ นโยบายสำคัญที่คสช. เร่งรัดดำเนินการคือ ‘ทวงคืนผืนป่า’ ผ่านการออกคำสั่งจำนวนสองฉบับ ได้แก่ คำสั่ง คสช.ฉบับที่ 64/2557 และ 66/2557 ส่งผลให้ชาวบ้านถูกไล่ออกจากที่ดิน ไร้ที่ทำกิน ไม่มีที่อยู่อาศัย แต่ทว่า คสช. ก็ยังไม่บรรลุเป้าหมายในการทวงคืนผืนที่ป่าตามที่หวังเอาไว้
forestry
อ่าน

ปัญหาที่ดินทำกินของคนชายขอบ จากคำสั่ง “ทวงคืนผืนป่า” เรื่องพื้นฐานที่พรรคการเมืองต้องเหลียวแล

ศูนย์กฎหมายสิทธิชุมชน แม่ฮ่องสอน เผยแพร่รายงานกระตุ้นเตือนปัญหาผลกระทบจากปฏิบัติการ “ทวงคืนผืนป่า” ภายใต้รัฐบาล คสช. ท่ามกลางบรรยากาศไปสู่การเลือกตั้ง หวัง ผู้ที่จะเป็นตัวแทนของคนชายขอบและพรรคการเมือง จะช่วยผลักดันแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง 
คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.
อ่าน

คุยกับ “ไพฑูรย์ สร้อยสด” ผู้ได้รับผลกระทบจากคำสั่งคสช.ที่ให้อำนาจทหารเข้ามามีบทบาทในการ “ทวงคืนผืนป่า”

ปัญหาเรื่องป่าไม้ เกี่ยวกับการรุกล้ำที่ดินในประเทศไทยมีความยืดเยื้อมายาวนาน ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากนโยบายของรัฐในแต่ละช่วง ในยุคที่ประเทศอยู่ภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) นโยบาย "ทวงคืนผืนป่า” ส่งผลให้ชาวบ้านที่อาศัยในเขตป่าได้รับความเดือดร้อนและต้องอพยพออกจากพื้นที่ที่เคยอยู่อาศัยมาก่อนหน้านี้ 
อ่าน

“ปลูกป่า” ทับพื้นที่ไร่หมุนเวียนของชาวกะเหรี่ยง อ.ท่าสองยาง

ข่าวจากตำบลแม่วะหลวง จังหวัดตาก นายอำเภอท่าสองยางเดินหน้านโยบายปลูกป่า โดยปลูกต้นไผ่ทับที่ดินที่ชาวบ้านใช้ทำไร่หมุนเวียน และปลูกข้าวไว้แล้ว