Military
อ่าน

กองทัพไม่โปร่งใสเพราะกฎหมายไม่เอื้อให้ตรวจสอบ

กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ถูกตั้งแง่เรื่องความโปร่งใสมาโดยตลอด และผู้เปิดโปงการทุจริตภายในกองทัพต้องถูกลงโทษทางวินัยและให้ออกจากราชการ สะท้อนให้เห็นว่ากลไกและกฎหมายภายในกองทัพเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้กองทัพไทยเป็นหน่วยงานที่ขาดความโปร่งใส-ตรวจสอบไม่ได้
aHR0cHM6Ly9zLmlzYW5vb2suY29tL25zLzAvdWQvMTUwOS83NTQ1MzQyL2NvdmVyLWZiLXByYXl1dGguanBn
อ่าน

ชมจริงหรือพีอาร์? มองเพดาน “การโฆษณาภาครัฐ” ผ่านกฎหมาย

การโฆษณาประชาสัมพันธ์โดยปกติแล้วไม่ใช่เรื่องผิดบาป เพียงแต่มีเส้นที่ยังต้องกำกับกันอยู่บ้างเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคสื่อไม่ให้ถูกครอบงำ หรือชักจูงให้หลงเชื่อจนเกิดผลเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาจากภาครัฐที่นำเม็ดเงินภาษีประชาชนไปใช้ ยิ่งต้องมีการกำกับอย่างเคร่งครัด
Comparison of Constitutional Courts
อ่าน

เปรียบเทียบที่มาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญหลายประเทศ ไทยยัง ‘พิเศษ’ ที่ให้โควต้าข้าราชการ

ศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่หลักเป็นองค์กร ‘พิทักษ์รัฐธรรมนูญ’ คอยตรวจสอบว่า กฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ ด้วยบทบาทที่กำหนดความเป็นไปทางการเมือง ทำให้สังคมตั้งคำถามถึงอำนาจที่ล้นเหลือของศาลรัฐธรรมนูญ และ “ที่มา” ของคนที่จะมาดำรงตำแหน่ง ตุลาการที่มาจากสายข้าราชการของไทยนั้นเป็นระบบเฉพาะตัวมากที่ไม่เหมือนระบบของประเทศอื่น 
Greece TN
อ่าน

รับมือโควิดในกรีซ: เยียวยา 800 ยูโร แม้ยังไม่ฟื้นจากวิกฤติเศรษฐกิจเรื้อรัง

ดินแดนแห่งปรัชญาเผชิญหน้าวิกฤติเศรษฐกิจมาตั้งแต่ปี 2009 และต้องมาเจอซ้ำช่วงโควิด แม้จะอยู่ใกล้อิตาลีแต่กรีซมีดีที่ติดตามสถานการณ์และออกตัวก่อนประเทศเพื่อนบ้าน จนนำไปสู่คำสั่งห้ามออกจากบ้านถ้าไม่มีเหตุจำเป็น และแม้ประเทศจะยังบอบช้ำรัฐบาลก็ยังให้เงินเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
Covid World
อ่าน

เปรียบเทียบมาตรการรับมือโควิดของไทย กับของชาวโลก

ระหว่างที่สังคมโลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤตการณ์โควิด 19 แต่ละประเทศก็ตัดสินใจใช้แนวนโยบายที่แตกต่างกัน แนวทางแบบใดที่จะถือว่าประสบความสำเร็จอย่างแท้จริง คงต้องพิจารณากันในระยะยาว ระหว่างนี้การเหลียวมองการตัดสินใจของประเทศอื่นๆ และผลที่เกิดขึ้น ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน
Netherlands TN
อ่าน

รับมือโควิดในเนเธอร์แลนด์: ควบคุมโรคแบบ “ชิลๆ” ที่ร็อตเตอร์ดัม

ประเทศเนเธอร์แลนด์เลือกใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ covid-19 ด้วยวิธีการผ่อนคลาย เพราะเชื่อว่าประชาชนของพวกเขามีความรับผิดชอบเพียงพอจนรัฐไม่ต้องชี้นิ้วสั่ง รวมทั้งเชื่อว่าการควบคุมไวรัสแบบผ่อนคลายจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไม่พังทลาย ที่น่าสนใจคือมาตรการเยียวยาของที่นี่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่พลเมืองดัชต์แต่รวมถึงผู้อพยพหรือชาวต่างชาติที่ทำงานเสียภาษีให้รัฐด้วย
Sweden TN
อ่าน

รับมือโควิดในสวีเดน: How chilling Sweden handle this situation?

นักศึกษาปริญญาโทในสวีเดนเล่าประสบการณ์ความตื่นตัวของผู้คนและรัฐบาลสวีเดนในการรับมือโควิด 19 ในสังคมที่มีสิทธิเสรีภาพสูงมาก การสั่งให้คนกักตัว 14 วันเป็นการละเมิดสิทธิที่รุนแรง จึงใช้วิธีขอความร่วมมือแทน ด้านนายกฯ ออกแถลงการณ์ให้ประชาชนเตรียมใจรับความสูญเสีย
Sweden
อ่าน

รับมือโควิดในสวีเดน: ว่ายทวนน้ำด้วยแนวคิด “ภูมิคุ้มกันหมู่”ไม่ปิดเมือง แค่รักษากราฟไปเรื่อยๆ

การต่อสู้กับโควิด-19 ครั้งนี้ ถ้าไม่พูดถึงยุทธศาสตร์ของสวีเดนแล้วก็เหมือนจะขาดอะไรไปบางอย่าง ประเทศนี้ใช้แนวคิดภูมิคุ้มกันหมู่ด้วยความเชื่อว่า เราจะต้องอยู่กับโรคนี้ไปอีกนาน จึงไม่ต้องปิดเมืองให้กระทบต่อชีวิตและเศรษฐกิจ และเสี่ยงกับการระบาดระลอกใหม่หลังเปิดเมือง เพียงแค่รักษากราฟไม่ให้เกินศักยภาพรองรับของระบบสาธารณสุข
India TN
อ่าน

รับมือโควิดในอินเดีย: ใช้มาตรการแรงเพื่อควบคุมโรค แต่มาตรการรองรับยังมีปัญหา

อินเดียมีประชากรสูงเป็นอันดับสองของโลกและมีความเหลื่อมล้ำสูง ประชากรบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงน้ำสะอาด ประชากรเรือนล้านใช้รถไฟเป็นพาหนะเดินทางในทุกๆ วัน รัฐบาลอินเดียตัดสินใจใช้ยาแรงสั่งปิดเมืองแบบเข้มงวด แต่ก็ส่งผลให้ประชาชนจำนวนไม่น้อยต้องตกงาน จนเกิดภาพแรงงานในเมืองเดินเท้ากลับบ้านเกิดในชนบท
Taiwan TN
อ่าน

รับมือโควิดในไต้หวัน: เด็ดขาด ฉับไว เยียวยาให้ธุรกิจท่องเที่ยว

ดลพร นิธิพิทยปกฤต เขียนเล่าประสบการณ์คนไทยที่อยู่ในไต้หวัน ท่ามกลางสถานการณ์โควิด โดยเฉพาะระบบการเยียวยาธุรกิจท่องเที่ยว ทำให้ไม่มีใครถูกไล่ออก ไม่มีการ Lockdown หรือประกาศ Work from home ทุกคนสามารถออกไปข้างนอก พบปะกันได้ภายใต้การสวมใส่หน้ากากอนามัย