อ่าน

ประกันสังคม ฉบับบูรณาการแรงงาน

พระราชบัญญัติประกันสังคม ฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ใช้มาตั้งแต่พ.ศ. 2533 โดยทำหน้าที่ดูแลสวัสดิภาพ การรักษาพยาบาลให้กับลูกจ้างที่อยู่ในระบบการจ้างแรงงาน โดยลูกจ้างและนายจ้างมีหน้าที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่วนหนึ่ง รัฐจ่ายอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันรายรับของกองทุนนั้นมากกว่ารายจ่ายมาก ทำให้เงินสะสมของกองทุนยังเหลืออยู่เป็นจำำนวนมาก
อ่าน

พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ ต้องใช้มากกว่าจรวดกระดาษ

กรณีที่ฝ่ายองค์กรภาคประชาชนนำโดยมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค เครื่อข่ายองค์กรสายสุขภาพ เครือข่ายประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากบริการสาธารณะสุข เสนอ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข แล้วมีเสียงคัดค้านอย่างหนักจากกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพ นำโดยแพทยสภา สมาคมโรงพยาบาลเอกชน
อ่าน

สวรส.หนุนกม.คุ้มครองผู้เสียหายฯ เน้นแก้ปัญหามากกว่าเพ่งโทษ

  จากเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการด้านสาธารณสุข กับกลุ่มเครือข่ายผู้ป่วย ผู้บริโภค กรณีการเสนอร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ยังมีอีกหลายประเด็นที่เป็นประเด็นขัดแย้งและยังไม่มีผู้ใดให้ความกระจ่างชัดกับสังคมได้ 

วิวาทะ แพทย์สภา – ผู้บริโภค ว่าด้วยพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายฯ

หลังจากมูลนิธิเพื่อผู้บริโภคและเครือข่ายรวบรวมรายชื่อประชาชน 10,631 ชื่อ เพื่อเสนอ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. …
อ่าน

ยา การเข้าถึงยา และสิทธิบัตร

  ***ร่างพระราชบัญญัติยา ฉบับประชาชน ได้รายชื่อครบ 10,000 ชื่อแล้ว และได้ยื่นรายชื่อทั้งหมดพร้อมร่างกฎหมายต่อรัฐสภาไปเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2555 ดูรายละเอียดที่นี่ http://ilaw.or.th/node/1354
อ่าน

ร่างพระราชบัญญัติกองทุนสินไหมทดแทนผู้ประสบภัยจากรถ

  ปัจจุบันนี้ หากใครที่ได้รับบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางรถยนตร์ ไม่ว่าจะเป็นคนขับ คนนั่ง หรือคนเดินถนนทั่วไป จะมีกฎหมายฉบับหนึ่ง คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ที่วางมาตรการเยียวยาผู้ประสบภัยเอาไว้ ซึ่งกำหนดให้เจ้าของรถทุกคันต้องทำประกันภัยกับบริษัทเอกชน และเมื่อเกิดความเสียหาย ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตต้องไปเรียกร้องค่ารักษาพยาบาลเอากับบริษัทเอกชน
อ่าน

แล้วเราจะแก่ไปด้วยกัน : บำนาญชราภาพ หลักประกันชราภาพสำหรับทุกคน

ครั้งที่แล้วได้นำเสนอข้อมูลเรื่อง “หลักประกันชราภาพ” ไว้คร่าวๆ เกี่ยวกับความหมายและทิศทางการจัดตั้งระบบนี้ขึ้นในสังคม ใน “แล้วเราจะแก่ไปด้วยกัน…อย่างไร” ครั้งนี้จะนำรายละเอียดเกี่ยวกับระบบหลักประกันชราภาพ หรือเงินบำนาญชราภาพ มานำเสนออีกครั้ง เพื่อให้เห็นทิศทางและความเป็นไปได้ในการจัดตั้งระบบนี้