10 REASONS
อ่าน

10 เหตุผล ประชามติ’ 59 ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้รัฐธรรมนูญ

ถึงปี 2563 แล้วก็ยังมีคนที่ต้องการรักษาอำนาจให้ คสช.​ อ้างเหตุผลว่า รัฐธรรมนูญ 2560 "ผ่านประชามติมาแล้ว" และยืนยันที่จะไม่แก้ยอมให้แก้ไข ลองดูกันว่า ข้ออ้างนี้ไม่ถูกต้องอย่างไร
Amend Additional Question
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย
อ่าน

4 แนวทาง กรธ.เตรียมแก้ร่างรัฐธรรมนูญให้ ส.ว.เลือกนายกฯ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงที่ให้ส.ว.สามารถเลือกนายกฯ ผ่านการออกเสียงประชามติ ส่งผลให้กรธ.ต้องแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญให้สอดคล้องกับคำถามพ่วง ซึ่งขนาดนี้มีการพูดถึงแนวทางการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญถึงสี่แนวทาง
referendum
อ่าน

7 August referendum cannot be used to claim legitimacy of power under new constitution.

The referendum which took place on 7 August 2016 has passed with the majority of those who casting their votes in favour of the draft constituion, drafted by the Constitution Drafting Committee (CDC) as well as for the additional question proposed by the National Reform Steering Assembly and the National Legislative Assembly (NLA).
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติ 7สิงหา ไม่อาจใช้อ้างความชอบธรรมให้ร่างรัฐธรรมนูญ

เสียงส่วนใหญ่ของผู้มาใช้สิทธิลงประชามติ เมื่อ 7 สิงหาคม 2559 เห็นชอบทั้งร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วง ซึ่งต้องเคารพทุกเสียงที่มาลงคะแนน แต่ข้อมูลชี้ให้เห็นปัญหา 10 ข้อ ตลอดการทำประชามติ ทำให้ทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ไม่อาจใช้อ้างเป็นความชอบธรรมให้เนื้อหาของร่างรัฐธรรมนูญ และการบังคับใช้หลังจากนี้ได้
military project
อ่าน

#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ

ประชามติ 7 สิงหาคม 2559 ภาครัฐใช้กลไกต่างๆ ในการรณรงค์และเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่งเนือหาในการเผยแพร่เป็นเพียงการพูดถึงข้อดีของร่างรัฐธรรมนูญ ขณะที่พ.ร.บ.ประชามติฯ ให้การคุ้มครองการดำเนินการต่างๆ ของกรธ.และภาคส่วนราชการต่างๆ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญ
NCPO's Senate Can choose PM
อ่าน

คำถามพ่วง: เห็นชอบให้ส.ว.ที่มาจากการแต่งตั้ง ร่วมกับ ส.ส.เลือกนายกฯ หรือไม่?

การออกเสียงประชามติ 7 ส.ค.มีสองคำถามซึ่งคำถามที่สองแปลให้ง่าย ได้ว่า "เห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ให้ ส.ว.ร่วมกับส.ส.เลือกนายกฯ ในช่วงห้าปีแรก" ซึ่งส.ว.ชุดดังกล่าวมี 250 คนมาจากการแต่งตั้งของคสช. ทั้งหมด ส.ว.ชุดนี้จะมีสิทธิเลือกนายกฯ อย่างน้อยสองครั้ง หรือให้ผลยาวนานอย่างน้อยแปดปี 
List of topics in 2015 Draft
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ และคำถามพ่วง เพื่อเตรียมพร้อมก่อนลงประชามติ

สรุปรวมเนื้อหาสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ ในหลากหลายประเด็น รวมทั้งคำถามพ่วง เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจลงประชามติ ในวันที่ 7 ส.ค.นี้