การ์ตูน: 2 ปี ยุค คสช. มีผลงานอะไรบ้าง?
อ่าน

การ์ตูน: 2 ปี ยุค คสช. มีผลงานอะไรบ้าง?

เราคิดอยู่นานว่า เราจะทำข้อมูลอย่างไรให้คนเข้าถึงได้ง่ายที่สุดภายใต้ข้อมูลที่มีมหาศาล แต่สุดท้ายเราเลือกใช้ "การ์ตูน" เพื่อเล่าเรื่อง 2 ปี ยุค คสช. ว่ามีผลงานอะไรบ้าง? และเนื่องด้วยกระแสตอบรับที่ล้นหลามทำให้เราเลือกทำมันในรูปแบบหนังสือพร้อมกับคอมเมนต์เด็ดๆ จากแฟนเพจให้ทุกคนได้สำรวจดู
จับตากฎหมายลูก: พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ ร่างแรกให้อำนาจ กกต. มากขึ้น แต่ไร้การถ่วงดุล
อ่าน

จับตากฎหมายลูก: พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ ร่างแรกให้อำนาจ กกต. มากขึ้น แต่ไร้การถ่วงดุล

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นหนึ่งในกฎหมายที่ กกต. ส่งร่างให้กับ กรธ. เมื่อ 19 กันยายน 2559 โดย สมชัย ศรีสุทธิยากร กกต. ให้คำอธิบายร่างกฎหมายอย่างกระชับๆ ว่า ฉบับ "4 ปฏิรูป" ปฏิรูปการรับสมัคร การหาเสียง การใช้สิทธิ และการประกาศผล
รายงาน: พ.ร.บ.ประชามติฯ กับความไม่เป็นธรรมที่ยังไร้คนรับผิด(ชอบ)
อ่าน

รายงาน: พ.ร.บ.ประชามติฯ กับความไม่เป็นธรรมที่ยังไร้คนรับผิด(ชอบ)

พ.ร.บ.ประชามติฯ เป็นอีกหนึ่งกฎหมายที่สร้างปัญหาความไม่เป็นธรรมในสังคมไทยขึ้นในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา และน่าเสียดายยิ่งไปกว่านั้นคือ เราอาจไม่มีบทลงโทษเพื่อเป็นบทเรียนให้กับผู้ออกกฎหมายและผู้บังคับใช้ซึ่งเป็นต้นเหตุของปัญหา
สองปีแล้วสินะ: ‘ผลประโยชน์ของชาติ’ ผูกขาดอยู่ที่ใคร?
อ่าน

สองปีแล้วสินะ: ‘ผลประโยชน์ของชาติ’ ผูกขาดอยู่ที่ใคร?

สองปีมานี้ รัฐบาลของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ใช้คำว่า “เพื่อผลประโยชน์ของชาติ” บ้านเมืองไปแล้วกี่มากน้อย อยากชวนผู้อ่านทำความรู้จักกับต้นตอวาทกรรมผลประโยชน์ของชาติ ที่ฝ่ายรัฐนำมาอ้างบ่อยในระยะหลังนี้
#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ
อ่าน

#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ

ก่อนลงประชามติ กรธ. และ กกต. ต่างเร่งทำสรุปสาระสำคัญร่างรัฐธรรมนูญ ส่งให้ประชาชน แต่เอกสารต่างๆ กลับเน้นบอกเฉพาะข้อดีและตอบโต้จุดอ่อนที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ ไม่ได้บอกสาระสำคัญที่ควรรู้ทั้งหมด บางส่วนมีการตีความเพิ่มเติมจากผู้จัดทำ บางส่วนเป็นข้อความเท็จ ส่งผลเสียต่อความชอบธรรมของกระบวนการประชามติ
#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ
อ่าน

#ส่องประชามติ: คสช.ทุ่มทุกกลไกรัฐเผยแพร่ข้อดีร่างรัฐธรรมนูญ

ประชามติ 7 สิงหาคม 2559 ภาครัฐใช้กลไกต่างๆ ในการรณรงค์และเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่งเนื้อหาในการเผยแพร่เป็นเพียงการพูดถึงข้อดีของร่างรัฐธรรมนูญ ขณะที่ พ.ร.บ.ประชามติฯ ให้การคุ้มครองการดำเนินการต่างๆ ของ กรธ.และภาคส่วนราชการต่างๆ ในการช่วยประชาสัมพันธ์ร่างรัฐธรรมนูญ