“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.
อ่าน

“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.

แม้ยังไม่เห็นเนื้อร่างยุทธศาสตร์ชาติ แต่ที่เป็นรูปธรรมแน่นอนแล้วคือ “คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” ว่าจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งต่อจากนี้ไปคณะกรรมการชุดนี้จะเข้ามาทำหน้าที่ร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับจริง และเมื่อร่างเสร็จก็จะมีบทบาทในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลชุดต่อๆ ไป  
สามปี คสช. วางฐานอำนาจ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”
อ่าน

สามปี คสช. วางฐานอำนาจ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”

รายงานเนื่องในวาระ คสช. อายุครบสามปี ประเทศไทยภายใต้ การออกคำสั่งตาม มาตรา 44, การออกกฎหมาย, การเขียนรัฐธรรมนูญ, การปิดกั้นความคิดเห็น โดย คสช. ได้เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมทางการเมือง สังคม และการตรวจสอบอำนาจรัฐไปอย่างไรบ้าง
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
นกน้อยในกรงพราง : เสรีภาพสื่อภายใต้ยุค คสช. กรณี วอยซ์ ทีวี
อ่าน

นกน้อยในกรงพราง : เสรีภาพสื่อภายใต้ยุค คสช. กรณี วอยซ์ ทีวี

หลัง คสช. เข้ามายึดอำนาจปกครองประเทศ วอยซ์ ทีวี กลายเป็นสื่อเจ้าเดียวที่ไม่ถูก คสช. ยินยอมให้กลับมาออกอากาศ ตามไทม์ไลน์ดังนี้
สั่งทุกคนคาดเข็มขัดนิรภัย, รื้อระบบบริหารครู ประยุทธ์ซัด ม.44 วันเดียว 4 เรื่องรวด
อ่าน

สั่งทุกคนคาดเข็มขัดนิรภัย, รื้อระบบบริหารครู ประยุทธ์ซัด ม.44 วันเดียว 4 เรื่องรวด

คสช. ใช้อำนาจมาตรา 44 ออกประกาศคำสั่งคสช. ถึงสี่ฉบับในวันเดียวกัน แม้จะสามารถใช้กลไกนิติบัญญัติอื่นในการแก้ไขกฎหมายได้ก็ตาม
Military Rule: เราควรเรียนรู้จากศาลทหาร
อ่าน

Military Rule: เราควรเรียนรู้จากศาลทหาร

ฟังความเห็น ‘ภาวิณี ชุมศรี; หัวหน้าฝ่ายคดีของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน’ ต่อการพิจารณาคดีของศาลทหาร
Military Rule: ศาลทหาร เราทำตามกฎหมายอย่างเดียว
อ่าน

Military Rule: ศาลทหาร เราทำตามกฎหมายอย่างเดียว

พูดคุยกับ พลตรีธานินทร์ ทุนทุสวัสดิ์ ตุลาการพระธรรมนูญหัวหน้าคณะฝ่ายศาลทหารสูงสุด ถึงการทำงานของศาลทหาร
บทสรุปการต่อสู้ของพลเรือนที่ไม่ยอมขึ้นศาลทหาร
อ่าน

บทสรุปการต่อสู้ของพลเรือนที่ไม่ยอมขึ้นศาลทหาร

การใช้ศาลทหารพิจารณาคดีของพลเรือนและดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีประชาชนอย่างน้อย 2,177 คน ตกเป็นจำเลยในอย่างน้อย 1,720 คดีและต้องถูกดำเนินคดีที่ ศาลทหาร (ข้อมูล 22 พ.ค. 2557 – 30 พฤศจิกายน 2559) ในจำนวนนี้เป็นคดีที่มีมูลเหตุจูงใจเกี่ยวกับการเมืองซึ่งมี คสช. เป็นคู่ตรงข้าม อย่างน้อย 92 คดี
ตารางการปิดกั้นและแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะ
อ่าน

ตารางการปิดกั้นและแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะ

  โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชนได้รวบรวมข้อมูลการปิดกั้นและแทรกแซงกิจกรรมสาธารณะนับตั้งแต่รัฐประหารวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 โดยรายละเอียดเป็นการเก็บข้อมูลจากสื่อกระแสหลัก, การค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตและโซเชียลเน็ตเวิร์ค และข้อมูลที่ได้รับรายงานโดยตรงจากผู้จัดกิจกรรมต่าง สำหรับข้อมูลในตารางจะแบ่งตามปีตั้งแต่ปี 2557(หลังรัฐประหาร) – ปัจจุบัน