48922035091_16be7894a6_b
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 60 ดีไซน์ให้รัฐบาลอ่อนแอ “คสช. 2” ติดกับสภาเสียงปริ่มน้ำผ่านงบปี 63

พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชานำคณะคสช. สืบทอดอำนาจผ่านการเลือกตั้งได้สำเร็จ แต่ “คสช. 2” เป็นรัฐบาลผสมเสียง“ปริ่มน้ำ” ซึ่งเป็นผลมาจากรัฐธรรมนูญปี 2560 ที่คสช. ออกแบบขึ้นมาเอง พล.อ. ประยุทธ์ เปิดประชุมสภาสมัย “พิเศษ” เพื่อพิจารณาผ่านกฎหมายงบประมาณประจำปี 2563 ในวันที่ 17-19 ตุลาคม 2562 จึงอาจไม่ง่ายนัก  
Arbitrary Cabinet Decree
อ่าน

ควันหลง ‘ม.44’ ยังไม่จาง คสช.2 ติดใจ ใช้อำนาจด่วนออก ‘พระราชกำหนด’

คณะรัฐมนตรีชุด 'คสช.2' อยู่ในตำแหน่งสองเดือนกว่าใช้อำนาจออกพระราชกำหนด ฉบับที่สองแล้ว ล่าสุดเป็นเรื่องการโอนกำลังพลและงบประมาณไปเป็นของหน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ แสดงให้เห็นว่า ยังติดใจอำนาจออกคำสั่งโดยไม่ต้องผ่านขั้นตอนใดๆ แบบที่เคยมี "มาตรา44" อยู่ในมือ 
Round-up The Parliament First Session-How did MPs and Senates do?
อ่าน

Roundup การประชุมสภาสามัญสมัยแรก ภายใต้ยุค คสช. 2 ส.ส. และ ส.ว. ทำอะไรไปกันแล้วบ้าง?

จบลงไปแล้วสำหรับการประชุมสภาสมัยแรก ส.ส. ได้ออกมาวาดลวดลายอภิปรายประเด็นปัญหาต่างๆ ในสภา บรรยากาศการเมืองที่เห็นได้ยากยิ่งในยุค คสช. สภาผู้แทนราษฎรได้พยายามอย่างยิ่งที่จะเล่นบทตรวจสอบรัฐบาลผ่านการตั้งกระทู้ถามและอภิปรายทั่วไปโดยไม่ลงมติ แต่ยังห่างไกลกับการทำหน้าที่นิติบัญญัติ เพราะออกกฎหมายสำเร็จเพียง 2 ฉบับเท่านั้น  
jpg
อ่าน

คสช. 2 ใช้ พ.ร.ก.ตีเช็คเปล่า! เลื่อนการบังคับใช้ พ.ร.บ.ส่งเสริมสถาบันครอบครัวฯ ไม่มีกำหนด

ในสมัยที่ 2 ของ คสช. ที่กลายร่างมาเป็นคณะรัฐมนตรีประยุทธ์ 2/1 มีการใช้ พ.ร.ก.ครั้งแรก ชื่อว่า พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนา และคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2562 โดยอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านกำลังคนและทรัพยากร อีกทั้งตัว พ.ร.ก. ยัง "ตีเช็คเปล่า" ให้รัฐบาลเป็นคนกำหนดช่วงเวลาในการบังคับใช้กฎหมายจากสภา   
D__emEMU8AEVCKM
อ่าน

จับกระแส “แก้รัฐธรรมนูญ” หลัง “คสช. 2” แถลงนโยบาย

การแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นประเด็นที่น่าจับตาอย่างมาก ตั้งแต่การปรากฎตัวอยู่ในนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล "คสช. 2" และท่าทีของฝ่ายค้านที่ประสานมือกันชูนโยบายแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย ตัดวงจรการสืบทอดอำนาจ ซึ่งอาจจะกลายเป็นจุดร่วมสำคัญของสภาในอนาคต
(People-Go)_การศึกษา-00
อ่าน

การศึกษาไทยใต้เงาคสช.

อาจเป็นเพราะตลอดเวลาที่คสช.อยู่ในอำนาจ กฎหมายและกลไกอื่นๆของรัฐได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือจำกัดเสรีภาพของบุคลากรในภาควิชาการ อาจารย์และนักศึกษาบางส่วนได้รับสถานะ ”จำเลย” คดีอาญาเป็นของขวัญจากการจัดกิจกรรมทางวิชาการหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง ขณะที่บางคนแม้ไม่มีคดีติดตัวแต่การแสดงออกก็ทำให้พวกเขาถูกหมายปองโดยคสช.บางคนถูกเรียกรายงานตัวในค่ายทหาร บางคนตกเป็นเป้าหมายมีทหารตำรวจเป็นแขกไปเยี่ยมถึงบ้านหรือมหาวิทยาลัย