51367729749_48b47a195d_b
อ่าน

Watchlist: เมื่อรัฐขึ้นบัญชีจับตาประชาชนที่ต่อต้าน

9 สิงหาคม 2564 มีการเผยแพร่เอกสารที่ถูกระบุว่าเป็นข้อมูล "ลับที่สุด" ในโลกออนไลน์ โดยเอกสารดังกล่าวคาดว่าเป็นของกองบังคับการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง และประกอบไปด้วยข้อมูลของประชาชน ได้แก่ บรรดานักกิจกรรมหรือนักเคลื่อนไหวทางการเมือง นักการเมือง สื่อมวลชน นักวิชาการ และภาคประชาชน รวมแล้ว 183 รายชื่อ และข้อมูลบัญชีโซเชียลมีเดียอีก 19 บัญชี ซึ่งรายชื่อเหล่านี้ถูกระบุสถานะในเอกสารว่าเป็นกลุ่ม Watchlist หรือกลุ่มที่รัฐกำลังจับตา 
data-protection-security-concept
อ่าน

จด•หมายเหตุ นคร เสรีรักษ์: นับถอยหลังสู่ 27 พฤษภาคม 2563 (หากจะมี)การบังคับใช้กฎหมายข้อมูลส่วนบุคคลเต็มฉบับ

จด•หมายเหตุ เป็นข้อเขียนของ "นคร เสรีรักษ์" นักวิชาการทางกฎหมายและผู้ก่อตั้งกลุ่ม Privacy Thailand ที่พยายามจดและบันทึกความเคลื่อนไหวทางสังคมในมุมสิทธิเสรีภาพและกฎหมาย โดยครั้งนี้ เขาจะเล่าถึงข้อสังเกตต่อการบังคับใช้กฎหมายข้อมูลส่วนบุคคลเต็มฉบับที่มีแนวโน้มจะถูกเลื่อนการบังคับใช้ออกไป
-1
อ่าน

จด•หมายเหตุ นคร เสรีรักษ์: การล่าแม่มดในสถานการณ์โควิด 19

จด•หมายเหตุ เป็นข้อเขียนของ "นคร เสรีรักษ์" นักวิชาการทางกฎหมายและผู้ก่อตั้งกลุ่ม Privacy Thailand ที่พยายามจดและบันทึกความเคลื่อนไหวทางสังคมในมุมสิทธิเสรีภาพและกฎหมาย โดยครั้งนี้เขาเลือกหยิบประเด็นเรื่องความเป็นส่วนตัวในสถานการณ์ที่สังคมต้องรับมือกับโรคระบาด แต่เพดานการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพดูจะลดต่ำลง
Miss Universe 2019
อ่าน

จากคำถาม Miss Universe สู่การสำรวจกฎหมายความเป็นส่วนตัวของไทย

จากคำถามในเวที Miss Universe 2019 นางงามจากประเทศไทยถูกถามว่า “ในหลายที่รัฐบาลต้องการสร้างความเป็นส่วนตัว และขณะเดียวกัน ก็ต้องการสร้างความปลอดภัย คุณจะเลือกอะไรระหว่างความเป็นส่วนตัวหรือความปลอดภัย?” ซึ่งคำถามนี้เป็นที่น่าสนใจว่าหากเป็นคุณ คุณจะเลือกสิ่งไหน "ความเป็นส่วนตัว" หรือ "ความปลอดภัย" จากรัฐ? จากการสำรวจกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความเป็นส่วนตัว พบว่ามีอย่างน้อย 11 กฎหมาย
23875666898_d09e71fe3d
อ่าน

กฎหมายไซเบอร์ (1): พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ ไทยก็มี แต่ข้อยกเว้นเพียบ!

ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และหัวหน้าศูนย์ศึกษากฎหมายกับเทคโนโลยี ชวนทำความรู้จัก พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายพื้นฐานในการคุ้มครองความเป็นส่วนตัว แต่เปิดช่องให้รัฐสอดส่องหรือตรวจสอบกิจกรรมของพลเมืองบนพื้นที่ไซเบอร์ในรูปแบบต่างๆ 

ธุรกิจเตรียมปรับตัว! 10 ข้อควรรู้ ก่อนพ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ เริ่มใช้บังคับ

สำหรับผู้ประกอบการที่เคยเก็บข้อมูลของลูกค้า ลูกจ้าง ผู้มาติดต่อ หรือเคยนำข้อมูลมาเพื่อวิเคราะห์และพัฒนาการขาย กำลังต้องเตรียมปรับตัวใหญ่ ตามพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ ที่เพิ่งประกาศใช้ โดยหลัก คือ การเก็บข้อมูลทุกครั้งต้องขอความยินยอมเป็นหนังสือ โดยต้องแจ้งรายละเอียดและสิทธิของเจ้าของข้อมูลให้ถูกต้อง
personal data
อ่าน

พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ ใหม่ วางหลักสวยหรู แต่ไม่คุ้มครองประชาชนจากรัฐ/ทหาร

พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคลฯ ซึ่งผ่านการพิจารณาโดย สนช. ในช่วงโค้งสุดท้าย เป็นกฎหมายที่ประชาชนเฝ้ารอมานานเพื่อจะได้ใช้ชีวิตในโลกออนไลน์ได้อย่างสบายใจมากขึ้น แต่ร่างฉบับที่ผ่านในยุคของรัฐบาลทหารกลับเขียนข้อยกเว้นไว้กว้างขวางจนแทบจะไม่เหลือที่ใช้เพื่อคุ้มครองข้อมูลจริงๆ โดยเฉพาะการยกเว้นไม่คุ้มครองข้อมูลในกิจการของหน่วยงานรัฐ
surveillance laws
อ่าน

สำรวจและเปรียบเทียบกฎหมายที่ให้อำนาจรัฐ“สอดส่อง” ประชาชน 4 ฉบับ

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เป็นกฎหมายหลักที่ให้อำนาจรัฐ สอดส่องโลกออนไลน์ แต่เมื่อมีกฎหมายฉบับอื่นๆ ออกตามมา ก็ให้อำนาจเพิ่มเติมอีกอย่างน้อย 3 ฉบับ
32482784_2057252477618412_5401821995002232832_o
อ่าน

เปิดคำอธิบาย ‘ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์’ จากมุมผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยไซเบอร์

เนื้อหาบทความดังกล่าวได้รับอนุญาตจาก ดร.ภูมิ ภูมิรัตน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ให้เผยแพร่ได้ในฐานะความเห็นส่วนตัว ซึ่งทาง iLaw เห็นว่าบทความดังกล่าว เป็นประโยชน์ต่อการทำความเข้าใจ ตีความ ร่าง พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
-คมั่นคง-edit-thumbnail
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ 62: เปิดช่องเจ้าหน้าที่รัฐ “สอดส่อง” คนเห็นต่างได้

26 กุมภาพันธ์ 2562 นี้ ร่าง พ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ฯ ถูกบรรจุอยู่ในวาระการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) อีกครั้ง แต่ครั้งนี้เป็นการพิจารณาในวาระ 2 และ 3 หาก สนช. เห็นชอบในวาระดังกล่าวกฎหมายฉบับนี้จะถูกประกาศใช้เป็นกฎหมาย แม้ร่างฉบับนี้จะถูกปรับแก้ไปแล้วหลายต่อหลายรอบ แต่ก็ยังคงมีปัญหาที่เสี่ยงจะถูกนำมาใช้ละเมิดสิทธิของประชาชนอยู่เหมือนเดิม