52143996695_58980b1389_o
อ่าน

คำบอกเล่าจากแฟลตดินแดง ปากคำของสื่ออิสระในวันที่เจ้าหน้าที่สั่งปิดไลฟ์

“ทุกคนมีสิทธิถ่ายรูป…คือถ้าทุกคนช่วยกัน มันก็จะมีภาพที่เกิดขึ้นลงในโซเชียลให้คนอื่นได้รู้ เราไม่จำเป็นต้องเป็นสื่อก็ได้” นี่คือคำยืนยันของสื่ออิสระที่เข้าไปรายงานสถานการณ์การชุมนุมภายในแฟลตดินแดง ในวันที่ 11 กันยายน 2564 โดยในวันนั้นตำรวจได้จับกุมประชาชนและอาสาพยาบาลไป 78 คน ภายใต้การทำงานของสื่อมวลชนถูกกดดันจากเจ้าหน้าที่ด้วยการตรวจบัตร และห้ามถ่ายทอดสด และใช้ข้ออ้างเรื่องเคอร์ฟิวเพื่อให้ผู้สื่อข่าวออกจากพื้นที่ชุมนุมในเวลาสี่ทุ่ม  ในขณะที่การสลายการชุมนุมยังคงไม่ยุติ ซึ่งในช่วงเวลาที่เหตุการณ์ชุลมุนวุ่นวายบริเวณแฟลตดินแดง จนมี
photo_2021-08-07_22-15-58
อ่าน

ถอดประสบการณ์ผู้สังเกตการณ์ชุมนุม #ม็อบ7สิงหา

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 14.00 น. เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมกันที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อนเวลานัดหมายในเวลา 12.20 น.
238416598_536538260988559_327197987477295369_n
อ่าน

“เขาจะเอาเราให้ตายเลยพี่ เขาขู่ผมว่าถ้าไม่หยุดมึงตายนะไอ้อ้วน” เสียงจากแป๊ะ สมรภูมิดินแดง

“ถ้าเรามาเพื่อป่วนเมือง เราคงทุบเละหมดแล้ว ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินของเอกชนหรือของรัฐ แต่ที่ผ่านมาเป้าหมายเราชัดเจนคือสู้กับรัฐเท่านั้นโดยไม่เคยไปแตะต้องทรัพย์สินเอกชน”“แป๊ะ” สันติภาพ อร่ามศรี
photo_2021-08-10_18-57-33
อ่าน

ความรู้สึกผู้ค้าขายในพื้นที่แยกดินแดง หลังการสลายการชุมนุมต่อเนื่องหลายวัน

ตั้งแต่วันที่ 7-17 สิงหาคม 2564 เป็นจำนวนกว่า 6 ครั้งแล้วที่เกิดการปะทะกันด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยาง ประทัดและพลุ ระหว่างเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชน กับผู้ที่แสดงออกถึงความไม่พอใจต่อรัฐบาลจำนวนหนึ่ง และเหตุการณ์ก็มักเกิดขึ้นบริเวณแยกดินแดงทางที่จะออกสูาถนนวิภาวดีรังสิต เพื่อไปยัง “ราบ1” ที่ตั้งของบ้านพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา จนกลายเป็น “สมรภูมิ” ที่เป็นภาพจำของจุดปะทะ    ในช่วงครั้งแรกๆ ของเหตุปะทะ เราได้พูดคุยกับเจ้าของร้านค้าที่อยู่ตามทางถนนราชวิถี ใกล้แยกดินแดงถึงผลกระทบและความร
photo_2021-08-13_18-22-13
อ่าน

“สมรภูมิดินแดง” เมื่อเด็กมาทวงคืนชีวิตด้วยการเผชิญหน้า

20 สิงหาคม 2564 นับเป็นวันที่ 11 แล้วที่แยกดินแดงกลายเป็นพื้นที่สมรภูมิที่ผู้ชุมนุมขับไล่รัฐบาลกับตำรวจชุดควบคุมฝูงชนปะทะกันด้วยอาวุธและความรุนแรง  ความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ กลุ่มผู้ชุมนุมอิสระเหล่านี้มีอายุน้อยลงและสามารถรวมตัวกันเองเพื่อปฏิบัติการกันเอง ไม่จำเป็นต้องรวมตัวหรือเดินขบวนตามการประกาศจากกลุ่มที่ใช้แนวทางการชุมนุมแบบอื่น      การชุมนุมตั้งแต่วันที่ 7 สิงห
51375458024_320c18dfcd_o
อ่าน

ประมวลเหตุการณ์ “จุดปะทะ” ระหว่างการชุมนุมตั้งแต่ 7 ถึง 11 สิงหาฯ 64

หากนับย้อนไปถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2564 จะพบว่า เกิดเหตุการณ์ปะทะกันระหว่างตำรวจกับผู้ชุมนุมมาแล้วถึงสี่
Durex
อ่าน

นักวิชาการชี้ ปัญหาข่มขืนต้องปรับตั้งแต่ฐานคิด เสนอแก้กฎหมายให้ “ยอมความไม่ได้”

จากโฆษณา Durex ที่บอกว่า “28% ของผู้หญิงที่ขัดขืน แต่สุดท้ายก็ยอม” ทำให้คนหลายกลุ่มไม่พอใจ นักนิเทศน์ศาสตร์ชี้ งานโฆษณามีผลต่อสังคมสูง เพราะเป็นเป้าหมายหลักของการโฆษณา นักวิชาการแจงสังคมไทยมีมายาคติที่ผิดเกี่ยวกับการข่มขืน NGOเสนอแก้กฎหมายข่มขืนให้ยอมความไม่ได้