อ่าน

รวมข้อมูลความเคลื่อนไหวการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ เพื่อ #สมรสเท่าเทียม

รวมข้อมูลความเคลื่อนไหวการแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพื่อ #สมรสเท่าเทียม ตั้งแต่ก่อนมีการแก้ไขกฎหมาย การพิจารณาแก้ไขครั้งแรกในปี 2565 ภายใต้รัฐบาลประยุทธ์ และการแก้ไขในยุครัฐบาลเศรษฐา
2023 General Election LGBTQINA+ Policies
อ่าน

เวทีนโยบายความหลากหลายทางเพศ หลายพรรคย้ำ ผลักดัน #สมรสเท่าเทียม รับรองอัตลักษณ์ทางเพศ

30 มี.ค. 2566 ตัวแทนจาก 12 พรรคการเมือง เข้าร่วมเวที “สิทธิประชาชนเพศหลากหลายกับนโยบายพรรคการเมือง 2566” เพื่อรับฟังเสียงและข้อเสนอจากภาคประชาชน และนำเสนอนโนบายเพื่อแสดงจุดยืนของพรรคในด้านการสนับสนุน คุ้มครอง และจัดสรรทรัพยากรเพื่อประชาชนเพศหลากหลาย
discrimination
อ่าน

ระเบียบสภาทนายความบังคับแต่งกายตามเพศกำเนิด นักศึกษานิติศาสตร์ ร้อง วลพ.​ เลือกปฏิบัติทางเพศ

ระเบียบของสภาทนายความ ยังคงกำหนดการแต่งกายของผู้ที่จะสอบใบอนุญาตว่าความต้องแต่งกายยึดตามเพศกำเนิด สำหรับผู้ที่มีเพศสภาพต่างจากเพศกำเนิด ยังต้องใช้ระบบขออนุญาตเพื่อให้สามารถแต่งกายตามเพศสภาพได้ หากฝ่าฝืนจะถูกตัดคะแนนสอบ
poll result
อ่าน

เปิดผลโพล #สมรสเท่าเทียม 99.9% เห็นด้วยให้มีกฎหมายรับรองสิทธิจดทะเบียนสำหรับเพศหลากหลาย

ไอลอว์เปิดแบบสอบถาม เช็คความคิดเห็นคนในสังคมเกี่ยวกับ #สมรสเท่าเทียม ก่อนศาลรัฐธรรมนูญมีมติว่าประมวลกฎหมายแพ่งฯ ขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ในวันที่ 17 พ.ย. 64 ผู้ตอบแบบสอบถาม 99.9% เห็นด้วยให้มีกฎหมายรับรองสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศ
photo_2020-12-17_18-00-37
อ่าน

คลื่นการชุมนุม 63 ในสายตาของสามผู้มีมลทินมัวหมอง

เพนกวิน-แรปเตอร์-เอเลียร์ สามผู้มีมลทินมัวหมองที่ถูกดำเนินคดีจากการชุมนุมในปี 2563 มาร่วมกันถอดบทเรียนถึงชนวนเหตุของการชุมนุมและทิศทางการชุมนุมในอนาคต
Marriage Equality
อ่าน

#สมรสเท่าเทียม: สำรวจหลักกฎหมายและร่าง พ.ร.บ.แก้ไขกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

เนื่องจากมีการเผยแพร่ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และเปิดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ชวนทุกคนมาสำรวจหลักกฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรสที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันว่า มีเนื้อหาอย่างไร และร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าวจะทำให้เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางไหน เพื่อที่จะได้ส่งเสียงออกไปด้วยความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง
civil partnership act and civil code
อ่าน

Pride Month: สำรวจ ร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต-กฎหมายแพ่งว่าด้วยการสมรส

มิถุนายนถูกกำหนดให้เป็น Pride Month แต่ไทยก็ยังไม่มีกฎหมายรับรอง 'สิทธิในการก่อตั้งครอบครัว' ของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หลายกลุ่มได้เริ่มผลักดันกฎหมายโดยมีอยู่ 2 แนวทางหลัก เสนอให้ยกร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ออกมาเป็นกฎหมายแยก และแก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
lawyers' dressing
อ่าน

ขอปลดล็อกการแต่งกายทนายความ ข้ามผ่านข้อจำกัดเรื่องเพศ

10 มิถุนายน 2563 ทนายความจากสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนเข้าพบตัวแทนสภาทนายความ เพื่อยื่นหนังสือเสนอให้แก้ไขข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความ พ.ศ. 2529 เนื่องจากข้อบังคับดังกล่าวได้กำหนดให้ทนายความเพศหญิงต้องใส่กระโปรง และมีโทษหากไม่ปฏิบัติตาม
IMG_7645
อ่าน

ทบทวนบทเรียนการรายงานข่าวกับการเคารพศักดิ์ศรีของผู้มีความหลากหลายทางเพศ

มูลนิธิมานุษยะและเครือข่ายจัดเวทีพูดคุยเรื่อง  "LGBTQI ในสื่อ : สื่อสารด้วยความเข้าใจและเท่าเทียม” เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจสื่อในการจัดการกับการใช้ภาษาที่เลือกปฏิบัติต่อบุคคล กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสื่อ
อ่าน

ไม่มีพื้นที่สำหรับเยาวชนและ LGBT ร่วมกำหนดกฎหมาย-นโยบาย

งานเสวนาสาธารณะสตรี ที-ทอล์ค ครั้งที่ 2 วรรณพงษ์ ยอดเมือง กล่าวว่า เป็นไปไม่ได้เลยที่จะมีเยาวชนอยู่ใน สนช. อีกทั้งสัดส่วนของ สนช. ก็มีผู้หญิงเพียง 12 คน จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะมีความหลากหลายทางเพศอยู่ในนั้น นโยบายที่จะเอื้อให้กับเยาวชนและความหลากหลายทางเพศจึงเกิดขึ้นได้ยาก