Tossapon
อ่าน

ผศ.ทศพล ห่วงร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ ชี้ ไทยจะปิดเน็ตแบบจีนไม่ได้

อาจารย์ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ แสดงข้อกังวล 12 ข้อในทางกฎหมาย ต่อร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ ที่ให้อำนาจรัฐไร้การตรวจสอบ ชี้รัฐยังสับสนระหว่างเรื่องความปลอดภัยกับการทำสงครามไซเบอร์
อ่าน

iLaw รวม 10 เรื่องเด่น ประจำปี 2558

ปี 2558 มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จากการติดตามประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การจับกุมและดำเนินคดีทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกกฎหมายและออกนโยบาย ใกล้สิ้นปีไอลอว์จึงขอหยิบเรื่องราว 10 เรื่องที่ถือว่าโดดเด่นและน่าจดจำที่สุด ในสายตาและการทำงานของเราตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา ให้ได้หวนระลึกกันอีกครั้ง
Dr.Kanatip
อ่าน

ฟังเรื่องกังวลใจของนักกฎหมาย ต่อร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับความมั่นคงดิจิทัล มีข้อถกเถียงหลายประการ การเก็บข้อมูลต้องขอความยินยอมก่อนหรือไม่? การทำงานของสื่อมวลชนควรได้รับการยกเว้นหรือไม่? จะสร้างสมดุลระหว่างการค้าขายกับการคุ้มครองอย่างไร? คุยกับรศ.ดร.คณาธิป ทองรวีวงศ์
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
Privacy Act
อ่าน

19 ประเด็นสำคัญที่เปลี่ยนแปลงในร่าง พ.ร.บ.คุ้มครอง Privacy (ฉบับความมั่นคงดิจิทัล)

ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ถูกเสนอสู่สนช.แล้วครั้งหนึ่ง แต่ถูกเสนอซ้ำอีกครั้งในชุด "กฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ซึ่งมีเนื้อหาเปลี่ยนไปมาก ใช้หลัก "แจ้งให้ทราบ" เมื่อเก็บข้อมูล โดยไม่ต้องขอความยินยอม ย้ายงานข้อมูลส่วนบุคคลมาอยู่ใต้สำนักงานความมั่นคงไซเบอร์ฯ
cyber security act
อ่าน

ความน่ากังวลบางประการต่อร่าง พ.ร.บ. ความมั่นคงไซเบอร์ฯ

ร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์ฯ เป็นหนึ่งใน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ" ซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้ให้อำนาจเจ้าหน้าที่เข้าถึงข้อมูลการสื่อสารโดยไม่มีหมายศาล ทั้งไปรษณีย์ โทรเลข โทรสาร โทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ และอาจส่งผลกระทบต่อบรรษัททั้งไทยและต่างชาติ เพราะเจ้าหน้าที่สามารถ “ขอความร่วมมือ” หรือสั่งให้บรรษัท กระทำการหรืองดเว้นการกระทำการใดๆ ก็ได้ 
อ่าน

ร่างกฎหมาย กสทช.ใหม่ เตรียมดึงคลื่นความถี่กลับสู่รัฐอีกครั้ง

ร่างแก้ไขพ.ร.บ.กสทช. เป็น 1 ใน ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ ร่างนี้จะลดอำนาจ กสทช.ให้เป็นเพียงส่วนราชการที่ขึ้นตรงต่อหน่วยงานใหม่ที่เรียกว่า คณะกรรมการดิจิทัลฯ เปลี่ยนวิธีการจัดสรรเคลื่อนความถี่เป็นการคัดเลือก รวมทั้งนำเงินจากกองทุน กทปส.ที่ใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะเป็นของคณะกรรมการดิจิทัล 
อ่าน

ร่างแก้ไขวิ.อาญาฯ: เพิ่มอำนาจดักฟังโทรศัพท์ ใครใช้สิทธิไม่ให้การให้สันนิษฐานว่าผิด

ร่างแก้ไข วิ.อาญาฯ เป็น 1 ใน ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ ร่างนี้เพิ่มอำนาจตำรวจในการดักฟังโทรศัพท์และดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ของประชาชน โดยต้องขอหมายศาล และกำหนดว่าหากผู้ต้องหาใช้สิทธิไม่ให้การในชั้นสอบสวน แล้วอ้างในชั้นศาล ศาลจะไม่รับฟัง
child pornography
อ่าน

ร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ: ไม่รวมการหมิ่นประมาทออนไลน์ โพสภาพโป๊เด็กจำคุก 6 ปี

ร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เป็น 1 ใน ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล 10+3 ฉบับ ร่างนี้เพิ่มความเข้มงวดเรื่องความผิดเกี่ยวกับภาพลามกอนาจารของบุคคลอายุไม่เกิน 18 ปี มีการกำหนดเรื่องความผิดฐานเผยแพร่ "ข้อมูลเท็จ" ใหม่ กำหนดให้ผู้ดูแลเว็บต้องทำตาม "ขั้นตอนการแจ้งเตือน"