49804739703_d824f769ab_o
อ่าน

การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”

นุชนารถ แท่นทอง ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัมสี่ภาค มองวิกฤติโควิดส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนจนเมืองและคนไร้บ้าน ทั้งภาวะความเครียด หนี้สิน และปัญหาปากท้อง รวมไปถึงปัญหาเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาที่ไม่ตรงจุด ล่าช้า ไม่ทันท่วงที อันเกิดจากรัฐธรรมนูญที่มีกรอบเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งส่งผลให้การบริหารงานในวิกฤติครั้งนี้ปราศจากการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ประสบปัญหา
Covid_foreign_Temp-02
อ่าน

รับมือโควิดในสหรัฐ: ตอบสนองล่าช้า หาเต็นท์ให้คนไร้บ้าน สินค้าขาดแคลน

สหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกที่มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและกองทัพที่เข้มแข็ง ทว่าเมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 การตอบสนองโดยภาครัฐในช่วงแรกกลับเป็นไปอย่างล่าช้าจนทำให้ไวรัสโคโรนาระบาดไปทั่วประเทศ อย่างไรก็ตามเมื่อรัฐบาลทั้งส่วนกลางและท้องถิ่นเริ่มตั้งหลักได้ก็มีการนำมาตรการที่เข้มงวดต่างๆ มาใช้และบางเมืองก็มีมาตรการดูแลกลุ่มคนเปราะบางอย่างคนไร้บ้านซึ่งทางการไทยน่าจะได้ศึกษาและนำมาปรับใช้
้homeless Act
อ่าน

กฎหมายใหม่จัด “สถานคุ้มครอง” หรือ “คุก”? ให้คนเร่รอนต้องเลือก

ผลการพัฒนาที่เน้นเศรษฐกิจภาคเมือง ทำให้เกิดการย้ายถิ่นฐานของคนชนบทคนจำนวนมาก ขณะคนเมืองจำนวนไม่น้อยก็ปรับตัวไม่ได้จากการพัฒนา คนเหล่านี้มุ่งหน้าออกจากบ้านด้วยจุดประสงค์ต่างกัน และถูกมองว่ามีปัญหา สนช.จึงออกกฎหมายคนไร้ที่พึ่ง เพื่อดูแลคนกลุ่มนี้แต่จะช่วยให้คนกลุ่มนี้มีชีวิตดีขึ้นหรือไม่? 
Homeless
อ่าน

ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ: เพราะเขาคือคนเหมือนเรา

ภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนร่วมกันจัดกิจกรรม "มหกรรมวันผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ" เพื่อรณรงค์ให้สังคมตระหนักรู้ว่าผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็มีศักดิศรีความเป็นคนเท่าเทียมกับคนอื่นๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางเพื่อปรับปรุงนโยบายและการดูแลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะให้ดียิ่งขึ้น