iLaw's suggestion on referendum
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ประชามติครั้งแรกต้องเป็นที่ยอมรับ การใส่ ‘หมวด1-2’ เป็นคำถามจะเพิ่มข้อถกเถียงต่อบทบาทของสถาบันฯ

บทสรุปจากการทำงานตลอดทั้งสามเดือนของคณะกรรมการศึกษาแนวทางทำประชามติ และข้อเสนอของไอลอว์ต่อคณะรัฐมนตรีในการตั้งคำถามประชามติ
Approve Referendum Question
อ่าน

ครม. ด่านสุดท้ายเคาะคำถามประชามติ

คำถามประชามติ คือสิ่งที่สำคัญในการกำหนดทิศทางการรณรงค์และลงคะแนนของประชาชนว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับคำถามนั้น ถ้าคำถามมีปัญหาก็อาจจะส่งผลต่อการลงคะแนนเสียงที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของประชาชนหรืออาจทำให้การจัดประชามติไร้ความหมาย ดังนั้นคำถามจะถูกจัดการออกมาในรูปแบบไหนถึงมีความสำคัญไม่แพ้การออกเสียงประชามติ                  
ืno-confidence vote results analyst
อ่าน

ผลอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2565: “3 ป.เสียงแตก” “พปชร.ร้าว” ปชป.รั้งบ๊วย” “ภูมิใจไทยเลี้ยงูเห่า”

23 ก.ค. 2565 ผลการลงมติเป็นไปตามคาดคือรมต.ทั้ง 11 คน รอดจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ดี ผลของการอภิปรายยังทำให้เห็นความขัดแย้งไม่เป็นเอกภาพของพรรคร่วมรัฐบาล รวมทั้งความแตกแยกภายในของแต่ละพรรค
no-confidence vote
อ่าน

ฝ่ายค้านต้องการ 240 เสียง เพื่อล้มรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา

23 กรกฎาคม 2565 จะเป็นวันลงมติหลังการอภิปรายไม่ไว้วางใจและจะเป็นการอภิปรายและลงมติครั้งสุดท้ายของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 25 เพื่อจะล้มรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา พรรคฝ่ายค้านและฝ่ายค้านอิสระต้องการเสียงจากขั้วรัฐบาลอีก 28 เสียงเท่านั้น
no-confidence motion
อ่าน

3 ผลลัพธ์จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

ในอดีตที่ผ่านมาไม่เคยมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจครั้งไหนเลยที่เสียงส่วนใหญ่ของสภาผู้แทนราษฎรจะเอารัฐมนตรีออกจากตำแหน่งหรือนำไปสู่การเปลี่ยนรัฐบาลได้ แต่การอภิปรายไม่ไว้วางใจในแต่ละครั้งก็นำไปสู่ผลลัพธ์ที่สร้างแรงกดดันให้รัฐบาลได้อย่างน้อย 3 ด้าน
51855381191_195bf49ce6_w
อ่าน

ขนุน สิรภพ: ขบวนไม่ได้ล้มเหลวแต่การต่อสู้ทางการเมืองเรื่องระยะยาว

สิรภพ หรือ ขนุน อาจไม่ใช่นักกิจกรรมที่อยู่แถวหน้าในการเคลื่อนไหวและไม่ใช่นักปราศรัยขาประจำ แต่ในช่วงเดือนตุลาคม 2563 ที่แกนนำคณะราษฎรหลายๆ คนถูกคุมขังหลังการสลายการชุมนุม 15 ตุลาคม 2563 ขนุนก็ตัดสินใจขึ้นปราศรัยในการชุมนุมใหญ่ที่แยกปทุมวัน ครั้งนั้นเขายังไม่ถูกดำเนินคดี  
Thammanat and CONSTITUTIONAL COURT
อ่าน

จับตาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่พิจารณาคดีถอดถอน ร.อ.ธรรมนัส

17 มิถุนายน 2563 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติรับคำร้องขอให้วินิจฉัยสมาชิกภาพความเป็น ส.ส. และรัฐมนตรีของ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า เนื่องจากขัดกับรัฐธรรมนูญที่ห้ามผู้เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดในกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดมาดำรงตำแหน่ง ส.ส.และรัฐมนตรี ทั้งนี้ถือว่าเป็นคดีเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณสมบัตินักการเมืองคดีแรกของศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม่ 4 คนที่เข้ารับตำแหน่งเมื่อ 1 เมษายน 2563  
3 Steps Vote of No-Confident
อ่าน

3 ขั้นตอน วิธีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

31 มกราคม 2563 หกพรรคฝ่ายค้านยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีหกคน โดยคาดว่าจะมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจในวันที่ 19-23 กุมภาพันธ์ ซึ่งระหว่างนั้นนายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้ จากนั้นจะเว้นการประชุมสภาไว้ 1 วัน จึงกลับมาลงมติได้ ถ้ารัฐมนตรีคนใดถูก ส.ส.เกินครึ่งสภาลงมติไม่ไว้วางใจ ต้องพ้นจากตำแหน่ง
unelected ministers
อ่าน

ดูรายชื่อรัฐมนตรี “คนนอก” 16 คน ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง

พล.อ.ประยุทธ์ กล่าวอ้างว่า ตัวเองได้เป็นนายกรัฐมนตรี "จากการเลือกตั้ง" และจากระบอบประชาธิปไตย ขณะที่เมื่อพลิกดูรายชื่อคณะรัฐมนตรีทั้ง 36 คน ก็พบว่า จำนวน 16 คน ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เข้าข่ายเป็นรัฐมนตรี "คนนอก" ซึ่งเป็นโควต้าของพรรคพลังประชารัฐถึง 11 คน บางคนไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเลย บางคน "สอบตก" ก็ยังได้เป็นรัฐมนตรี
End of NCPO But in still former NCPO in New Prayuth's Cabinet
อ่าน

ปิดฉาก คสช. แต่ยังอยู่ต่อ ครม. ประยุทธ์ 2

10 กรกฎาคม คณะรัฐมนตรี (ครม.) ชุดใหม่หลังการเลือกตั้ง ของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตั้งเสร็จแล้ว หลังรอคอยกันมาถึง 108 วัน นับจากวันเลือกตั้ง  “ครม. ประยุทธ์ 2” มีทั้งหมด 36 คน พบว่าเป็น “คนใกล้ชิด” หรือ บุคคลที่เคยทำงานกับ คสช. อย่างน้อย 11 คน