Mining
อ่าน

เอกสารชี้แจง เหมืองทองมีผลกระทบจริง โดยสามารถใช้กฎหมายปกติสั่งปิดและฟื้นฟูเหมืองได้

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ แสดงความคิดเห็นกรณีรัฐบาลเผด็จการทหาร คสช. ใช้อำนาจตามมาตรา ๔๔ ปิดกิจการเหมืองแร่ทองคำ ของบริษัท อัครา รีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน)  ผู้ร่วมทุนรายใหญ่จากประเทศออสเตรเลีย
Seminar on Article 116
อ่าน

กสม.-นักกฎหมาย ชี้ รัฐใช้ ม.116 เป็นเครื่องมือปิดปาก พร้อมจี้ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม

ไอลอว์ จัดงานเสวนาหัวข้อ “มาตรา 116: ยุยงปลุกปั่น มั่นคงหรือมั่วนิ่ม” เพื่อสะท้อนถึงปัญหาการบังคับใช้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 ที่กลายเป็นเครื่องของรัฐในการจำกัดการแสดงออก โดยเฉพาะการวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลในยุคคสช. เพราะในจำนวนคดีความที่เกี่ยวกับมาตรา 116 ถูกใช้กับการแสดงออกในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ คสช. มากที่สุด  
National Strategic Plan Committee
อ่าน

“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.

แม้ยังไม่เห็นเนื้อร่างยุทธศาสตร์ชาติ แต่ที่เป็นรูปธรรมแน่นอนแล้วคือ “คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” ว่าจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งต่อจากนี้ไปคณะกรรมการชุดนี้จะเข้ามาทำหน้าที่ร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับจริง และเมื่อร่างเสร็จก็จะมีบทบาทในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลชุดต่อๆ ไป  
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
อ่าน

รัฐธรรมนูญ(ชั่วคราว)’57 สองปีแก้สี่ครั้ง

ระยะเวลาประมาณ 2 ปี 5 เดือน รัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ. 2557 ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ถูกแก้ไขเพิ่มเติมไปแล้วทั้งสิ้น 4 ครั้ง ทุกครั้งใช้เวลาเพียงวันเดียวในการให้ความเห็นชอบ เมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญถาวรเรียกว่า แก้ได้ง่ายกว่ามาก และเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญชั่วคราวด้วยกันยังไม่มีข้อมูลว่า ในอดีตเคยมีฉบับไหนมีการแก้ไขเพิ่มเติมบ้าง
who pass the law 1
อ่าน

รายงานปี 2559 “ช่องทางออกกฎหมายผูกขาด-ขาดการมีส่วนร่วม”

ที่ผ่านมาการออกกฎหมายทั้งโดย สนช.และใช้คำสั่ง คสช.ตามมาตรา 44 คือความ 'เงียบ'  ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ในขั้นตอนการออกกฎหมายที่แทบจะไม่มีเสียงหรือเจตนารมณ์ของประชาชนสะท้อนอยู่ในนั้นเลย สะท้อนผ่านจำนวนปริมาณกฎหมายจำนวนมากที่ยังมีเสียงคัดค้านอยู่
NCPO still in power
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญผ่าน คสช.ยังอยู่ต่อเบื้องหน้าและเบื้องหลัง

แม้ว่าร่างรัฐธรรมนูญมีชัยจะผ่านการออกเสียงประชามติ ในเบื้องหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ยังจะอยู่กับเราอย่างน้อยก็ 15 เดือน และในเบื้องหลังบรรดาประกาศ/คำสั่ง และวุฒิสภาจากการแต่งตั้งโดย คสช.ยังอยู่หลังจากเลือกตั้ง
military court logo
อ่าน

การต่อสู้ของพลเรือนที่ไม่ยอมขึ้นศาลทหาร ในคดีการเมืองยุคคสช.

25 พฤษภาคม 2557 หลังยึดอำนาจได้ 3 วัน คณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ออกประกาศฉบับที่ 37/2557 กำหนดให้ศาลทหารมีอำนาจพิจารณาคดีพลเรือนในความผิดบางประเภท ได้แก่ ความผิดต่อพระมหากษัตริย์ฯ ความผิดต่อความมั่นคงของชาติ และความผิดฐานฝ่าฝืนประกาศหรือคำสั่งของคสช.
puethai
อ่าน

เรียกปรับทัศนคตินักการเมืองฟากเพื่อไทย มาตรการที่ไม่ได้ผลแต่ยังคงย้ำคิดย้ำทำ

จากกระแสเจ้าหน้าที่ทหารพาตัวนักการเมืองอย่าง ‘วรชัย เหมะ’ อดีต ส.ส.เพื่อไทย ไปปรับทัศนคติ ซึ่งแม้จะถูกปล่อยตัวเเเล้ว แต่ขณะถูกควบคุมตัวเราแทบไม่ทราบชะตากรรมว่าถูกพาตัวไปสถานที่ไหน อีกวันต่อมา ‘วัฒนา เมืองสุข’ ก็ถูกทหารนำกำลังไปที่บ้านก่อนพาตัวไปที่มทบ.11 เพื่อปรับทัศนคติ หลังโพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊กถึงกรณีการเรียกตัววรชัยเข้าค่าย  ช่วงปีที่ผ่านมานักการเมืองจากฟากพรรคเพื่อไทยหลายคนต่างถูกเรียกตัวเข้าค่ายทหาร จากเหตุวิพากษ์วิจารณ์การเมืองและการทำงานของรัฐบาลคสช.
Lartsak: type of the Thai junta law
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน  ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ในการใช้ชีวิตของประชาชน