51829978506_da37c76bbd_w
อ่าน

ชูเกียรติ ‘Justin Thailand’: การต่อสู้เพื่อความเปลี่ยนแปลงคือภารกิจร่วมของสังคม

ย่ำรุ่งวันที่ 20 กันยายน 2563 ผู้ชุมนุมที่สนามหลวงเตรียมทำพิธีปักหมุดคณะราษฎร 63 ในบรรดานักกิจกรรมที่ยืนล้อมหมุดอยู่บนเวที มีชายสวมแว่นในชุดเสื้อกล้ามเอวลอยสีขาว นุ่งกางเกงวอร์มสีแดงรวมอยู่ด้วย ชายคนดังกล่าวเป็นที่รู้จักในหมู่ผู้ชุมนุมว่า “จัสติน” จากการที่เขามักมาร่วมชุมนุมในชุดเสื้อเอวลอยกางเกงวอร์ม แบบเดียวกับที่จัสติน บีเบอร์ ศิลปินชาวแคนาดาสวมในภาพถ่ายที่ถูกแชร์กันแพร่หลายในโลกออนไลน์  ชูเกียรติซึ่งมีชื่อเล่นจริงๆ ว่านุ๊ก เป็นชาวสมุทรปราการ เขาไม่ได้เป็นคนที่มีพื้นฐานเป็นนักกิจกรรมหรือเคยเคลื่อนไหวทางการเมืองมาก่อนในสมัยเรียนมหาวิทยาลัย ปัญหาเศรษฐกิจแล
The role of the Senate in expanding Royal prerogative
อ่าน

7 ปี แห่งความถดถอย : “สภาแต่งตั้ง” เล่นใหญ่เพื่อปกป้องพระมหากษัตริย์ และขยายพระราชอำนาจ

ทบทวนบทบาทของ สนช. ที่แก้ไขรัฐธรรมนูญและกฎหมายหลายครั้งอย่างลับๆ เกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ เมื่อถึงยุคของ ส.ว. ก็ยังตั้งกมธ.พิทักษ์สถาบันฯ รวมทั้งขวางการ #แก้รัฐธรรมนูญ หมวดพระมหากษัตริย์ และอีก 38 มาตรา 
SSR Phue Thai Proposal
อ่าน

เปิดโมเดล สสร. ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ‘พรรคเพื่อไทย’

31 สิงหาคม 2563 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดเผยร่างรัฐธรรมนูญฉบับที่สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ร่วมกับคณะเป็นผู้เสนอ โดยมีทั้งสิ้น 5 มาตรา หนึ่งในสาระสำคัญ คือ วิธีการได้มาซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ที่มาจากการเลือกตั้ง
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
Magazine Cover
อ่าน

#ส่องประชามติ: ดูข้อความเท็จในเอกสารเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญของภาครัฐ

ก่อนลงประชามติ กรธ. และกกต. ต่างเร่งทำสรุปสาระสำคัญร่างรัฐธรรมนูญ ส่งให้ประชาชน แต่เอกสารต่างๆ กลับเน้นบอกเฉพาะข้อดีและตอบโต้จุดอ่อนที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์ ไม่ได้บอกสาระสำคัญที่ควรรู้ทั้งหมด บางส่วนมีการตีความเพิ่มเติมจากผู้จัดทำ บางส่วนเป็นข้อความเท็จ ผลเสียต่อความชอบธรรมของกระบวนการประชามติ
อ่าน

บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์: รัฐธรรมนูญไม่ผ่าน ครั้งต่อไปต้องไม่เหมือนเดิม

เว็บไซต์ประชามติเข้าพูดคุยกับ บัณฑูร เศรษฐศิโรจน์ อดีตกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ถึงสถานการณ์การมีส่วนร่วมของประชาชนบนโลกออนไลน์ปี 2558 อนาคตของร่างรัฐธรรมนูญและการออกเสียงประชามติ รวมทั้งทางออกหากร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ต้องคว่ำไปอีกรอบ
Committee Comparison
อ่าน

ใครร่างนั้นสำคัญไฉน?: เปรียบเทียบคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสามชุดในรอบ 20 ปี

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อ เกี่ยวกับคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ 3 ชุด และการร่างรัฐธรรมนูญในรอบ 20 ปี น่าจะช่วยเราตอบคำถามว่า ผู้ร่างรัฐธรรมนูญที่พึงปรารถนาควรมีที่มาอย่างไร? ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลแบบใด? และเราจะยังวนเวียนอยู่กับนักร่างรัฐธรรมนูญหน้าเก่าต่อไปอีกหรือ?
อ่าน

สปช.จังหวัด-ข้าราชการ-ทหาร-ตำรวจรวมพล โหวตคว่ำร่างรัฐธรรมนูญ

ภายหลัง สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) มีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญด้วยคะแนน 135 เสียง หากวิเคราะห์ทิศทางการลงมติจะพบว่า กลุ่มอาชีพข้าราชการพลเรือน-ทหาร-ตำรวจ เป็นส่วนใหญ่ที่ไม่เห็นชอบ และกลุ่มเอ็นจีโอส่วนใหญ่สนับสนุน แต่หากแบ่งตามที่มาจะพบว่า สปช.จังหวัด จำนวนมากไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ
Mix Member Proportional (MMP-Thai)
อ่าน

ระบบเลือกตั้งผสมแบบไทย-เยอรมัน ตามร่างรัฐธรรมนูญ 2558

การเลือกตั้ง ส.ส.เป็นหัวใจสำคัญของการเข้าสู่อำนาจทางการเมือง ระบบเลือกตั้ง ส.ส.จะถูกเปลี่ยนแปลงทุกครั้งตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การรัฐประหาร 2557 เป็นอีกครั้งหนึ่งโดยคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญนำระบบสัดส่วนแบบผสม หรือ MMP มาใช้ ชวนทำความเข้าใจระบบนี้