Hammer Abolishment
อ่าน

อนาคตคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังไม่แน่นอน ครม. ต้องสั่ง “ยกเลิกคดี” ให้ชัดเจนด้วย

คดีจากการฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังมีอนาคตที่สับสน แม้ว่าการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมโรคโควิดจะสิ้นสุดลง แต่คดียังอาจเดินหน้าต่อไปได้ ไม่ใช่กรณีกฎหมายถูกยกเลิก ซึ่งคณะรัฐมนตรีควรต้องใช้อำนาจออกประกาศให้ชัดเจนเพื่อหาทางลดภาระในกระบวนการยุติธรรม
Civil Court
อ่าน

สรุปคำฟ้อง เพิกถอนข้อกำหนดห้ามชุมนุมโดยเครือข่ายคัดค้านพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่มฯ

วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 เครือข่ายคัดค้านพ.ร.บ.ควบคุมการรวมกลุ่มฯ นำโดยนิมิตร์ เทียนอุดม ธนพร วิจันทร์ และภรณ์ทิพย์ สยมชัย ร่วมกันเป็นโจทก์ฟ้องพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาและพวกต่อศาลแพ่ง เพื่อขอให้ศาลมีคำพิพากษาเพิกถอนข้อกำหนดเรื่องห้ามชุมนุม พร้อมเรียกค่าเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพการชุมนุมและการปิดกั้นขัดขวางการชุมนุมของเจ้าหน้าที่ 
Cases against emergency decree
อ่าน

ประชาชนไม่ทน รวมเหตุผลฟ้องเพิกถอนข้อกำหนดตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

ในช่วงระยะเวลาประมาณสองปีนับตั้งแต่มีการประกาศใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ประชาชนยื่นฟ้องคดีต่อศาลเพื่อขอให้ยกเลิกบรรดาข้อกำหนดที่ออกตามอำนาจพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯไปแล้วรวมอย่างน้อย 5 คดี ได้แก่ ฟ้องศาลแพ่งให้เพิกถอนข้อกำหนดเรื่องห้ามชุมนุม 3 คดี เรื่องตัดอินเทอร์เน็ต1 คดี และยื่นคำร้องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มีเนื้อหาขัดต่อรัฐธรรมนูญ 1 คดี 
Army Annoucement
อ่าน

ไล่เรียง ‘ประกาศ ผบ.สส.’ สั่งห้ามชุมนุมเข้มงวดยิ่งกว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

นอกจากข้อกำหนดห้ามชุมนุมที่อ้างควบคุมโรคโควิด 12 ฉบับแล้ว พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังให้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด แก้ปัญหาด้านความมั่นคงโดยออกคำสั่งควบคุมการชุมนุมมาอีกรวม 15 ฉบับ ซึ่งเนื้อหาทับซ้อนกัน แก้ไขและยกเลิกฉบับก่อนหน้าจนสร้างความสับสน และเพิ่มเครื่องมือให้ตำรวจสั่งห้ามการชุมนุมได้หลากหลายขึ้น
Emergency regulation
อ่าน

ไล่เรียง ข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

การประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เป็นการใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ทั่วประเทศที่กินระยะเวลายาวนานตามมาด้วยข้อกำหนดห้ามการชุมนุมมากมายที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์โควิด และมีเนื้อหาทับซ้อนกันจนการเอามาใช้ยังสับสน
Announcement of the Commander
อ่าน

ประกาศผู้บัญชาการทหารสูงสุด ห้ามชุมนุมอย่างกว้างขวาง ทำยอดคดีชุมนุมพุ่งสูง

นับจนถึงต้นเดือนตุลาคม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้อาศัยอำนาจตามมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) ออกข้อกำหนดเพื่อแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทั้งสิ้น 34 ฉบับ และยังแต่งตั้งให้พล.อ.เฉลิมพล ศรีสวัสดิ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในฐานะหัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนนที่เกี่ยวกับความมั่นคง พล.อ.เฉลิมพลก็ได้ออกประกาศหัวหน้าผู้รับชอบฯเรื่อง ห้ามการชุมชุม การทำกิจกรรม การมั่วสุม ที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19 ) รวมแล้ว 11 ฉบับ กลายเป็นกฎหมายหลักที่ถูกนำมาใช้สั่ง “ห้ามชุมนุม” และดำเนินคดีผู้ชุมนุมตามหลัง
Civil Court Order
อ่าน

ศาลสั่ง งดใช้ข้อกำหนดฯ “ตัดเน็ต” คนเผยแพร่ข่าวทำให้หวาดกลัว ชี้ขัดรัฐธรรมนูญ-ไม่มีกฎหมายให้อำนาจ

ศาลแพ่งมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวระงับการบังคับใช้ข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29  ที่เป็นการห้ามเผยแพร่ข้อความที่ทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว และให้อำนาจ กสทช. “ตัดเน็ต” เลขที่อยู่ไอพี โดยให้เหตุผลว่าเป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ และ พ.ร.ก. ฉุกเฉินฯ ก็ไม่ได้ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีในสั่ง
51352243456_3284572836_o
อ่าน

สื่อ-นักกฎหมาย-นักการเมือง ประสานเสียงค้าน “มาตรการคุมสื่อ” ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

ภายหลังข้อกำหนด ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่กำหนดว่าห้ามเสนอข่าวที่ทำให้ประชาชนหวาดกลัว หรือบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร รวมถึงอนุญาตให้ กสทช.มีอำนาจ "ตัดเน็ต" หากพบว่า IP address ใดทำผิดข้อกำหนด มีผลบังคับใช้ มันได้สร้างความไม่พอใจให้กับประชาชนอย่างกว้างขว้าง จนเกิดเป็นปฏิกิริยาตอบโต้จากทั้งบรรดาสื่อมวลชน นักกฎหมาย รวมถึงกลุ่มการเมือง ที่มองว่า นี่คือการคุกคามสื่อและจงใจปิดหูปิดตามประชาชน
51305651532_9ca668816b_o
อ่าน

ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์

ทุกการระบาดใหญ่ตั้งแต่ระลอกแรกไปจนถึงการระบาดใหญ่ในช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา รัฐไทยยังคงหวังใช้มาตรการควบคุมทางสังคม เช่น "การล็อคดาวน์" เป็นกลไกหลัก ทั้งที่ หัวใจสำคัญ คือ มาตรการทางสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นการตรวจเชิงรุก การติดตามผู้ป่วย ไปจนการฉีดวัคซีน แต่รัฐไทยก็กลับละเลย