Abolished the Right to Vote PM of Senate
อ่าน

รวมคำอภิปรายตัวแทนผู้เสนอร่างรัฐธรรมนูญ​ #ตัดอำนาจสว ยกเลิก272

6-7 กันยายน 2565 รัฐสภาพิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญในวาระหนึ่ง โดยมีหนึ่งร่างเสนอโดยภาคประชาชนหกหมื่นกว่าชื่อ เสนอยกเลิกมาตรา 272 ที่ให้อำนาจส.ว. ชุดพิเศษ 250 คน เลือกนายกรัฐมนตรี ร่วมกับ ส.ส. ทั้งนี้ตัวแทนผู้เสนอได้อภิปรายความสำคัญของการตัดอำนาจ ส.ว. ดังนี้
Abolish NCPO's Legacy
อ่าน

ล้างมรดก คสช. ล้มเหลว สภาปัดตกทุกช่องทาง

หลังการเลือกตั้ง 2562 มีความพยายามใช้เวทีรัฐสภาในการขจัดมรดก คสชซ หลายครั้งแต่ก็ประสบความล้มเหลว ที่ผ่านมีความพยายามทั้งหมดแปดครั้ง โดยสามวิธีการที่จะใช้เวทีรัฐสภาปลดอาวุธ คสช. แต่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จ          
electoral system amendment
อ่าน

เกมส์แก้ระบบเลือกตั้ง สภาแบ่ง 2 ฝ่าย ไม่แบ่งฝ่ายค้าน-ฝ่ายรัฐบาล

24 ส.ค.2564 การแก้ไขรัฐธรรมนูญว่าด้วยระบบเลือกตั้งเข้าสู่การพิจารณาวาระที่สอง แต่การแก้ไขไม่ได้เป็นความเห็นพ้องต้องกันของรัฐสภา โดยเฉพาะซีกของ ส.ส. ที่แบ่งออกเป็นสองฝ่าย แต่ไม่ใช่ฝ่ายค้านกับฝ่ายรัฐบาลเช่นที่เราคุ้นเคย  
51262615777_554f8bdeb2_c
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สรุปร่างเพื่อไทย 2 รูปธรรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ เลิกข้อยกเว้นศาล ตัดมรดก คสช.

ศึกแก้ไขรัฐธรรมนูญ ภาคสอง พรรคเพื่อไทยในฐานะพรรคแกนนำฝ่ายร่วมค้านเสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแยกเป็น ห้าฉบับ ห้าประเด็น อย่างไรก็ตามประเด็นการตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือ สสร. เพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับถูกปัดตกไปตั้งแต่ยังไม่เริ่มพิจารณาในสภา ส่งผลให้ร่างรัฐธรรมนูญของพรรคเพื่อไทยที่จะเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาเหลือเพียงสี่ประเด็น  
51258000427_04ac475422_n
อ่าน

เปรียบเทียบสามระบบเลือกตั้งแบบไหนเหมาะสมกับการเมืองไทย

การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 นำมาสู่ข้อถกเถียงเกี่ยวกับระบบเลือกตั้ง โดยมีการเสนอให้กลับไปใช้แบบรัฐธรรมนูญ 2540 แต่การเสนอแก้ไขถูกกล่าวหาว่า จะช่วยขยายการสืบทอดอำนาจให้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ข้อกล่าวหาที่จริงหรือไม่ และระบบเลือกตั้งแบบไหนที่เหมาะกับประเทศไทย
constitution amendment draft vote
อ่าน

เปิดรายชื่อ ส.ส. ส.ว. โหวตอะไรบ้างในการ #แก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม

17 มีนาคม 2564 รัฐสภามีมติเห็นชอบร่างแก้รัฐธรรมนูญ วาระสาม เพียง 208 เสียง ไม่เกินกึ่งหนึ่ง ร่างเป็นอันตกไป ชวนดูกันว่า ส.ส. ส.ว. แต่ละคน ลงมติอย่างไรบ้าง
recon-2
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: สภาลงมติวาระสอง เปิดทางแก้รัฐธรรมนูญโดยอาศัยเสียง 3 ใน 5 ของรัฐสภา

24 ก.พ. 64 รัฐสภาลงมติร่างแก้รัฐธรรมนูญวาระสอ โดยคงมาตรา 3 ซึ่งเป็นการแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 256 ตามร่างแก้รัฐธรรมนูญที่รัฐสภาเห็นชอบในวาระหนึ่ง