Screenshot 2566-02-22 at 09
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดระเบียบกกต.ใหม่ ยกเลิกรายงานผลไม่เป็นทางการ เพิ่มขั้นตอนวินิจฉัยตัดสิทธิผู้สมัคร

กกต.ออกระเบียบเลือกตั้งส.ส. 2566 คงโครงสร้างเนื้อหาของระเบียบฉบับก่อนหน้าใหม่และปรับเนื้อหาบางอย่างให้สอดคล้องกับกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ความถดถอยสำคัญของระเบียบนี้คือ การยกเลิกการรายงานผลการเลือกตั้งอย่างไม่เป็นทางการผ่านแอพพลิเคชั่น
52690559248_898aa90552_o
อ่าน

เลือกตั้ง 66 : เขตเลือกตั้งเพิ่มจังหวัดไหนบ้าง พรรคไหนได้เปรียบ?

การเลือกตั้งปี 2566 มีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เทียบเคียงกับการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาแล้วมีอย่างน้อยหกพรรคได้รับอานิสงส์จากการแบ่งเขตใหม่ครั้งนี้ อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาภูมิทัศน์ทางการเมืองในปี 2566 พบว่า หลายพื้นที่ยังคงความได้เปรียบ แต่จำนวนไม่น้อยเสียฐานที่มั่นทางการเมืองไป
Senator's assistants
อ่าน

เปิดชื่อ ส.ว. แต่งตั้งญาติเป็นผู้ช่วย 50 คน รับเงินเดือนหลักหมื่น พบทหาร คนใกล้ชิด คสช. อีกกว่าครึ่งพัน

การแต่งตั้งคนใกล้ชิดเพื่อมารับค่าตอบแทนรายเดือนยังคงทำเป็น “อุตสาหกรรม” ขนาดใหญ่ไม่ต่างจากในยุคของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เพียงแต่ซ่อนรูปอยู่ใน ส.ว.แต่งตั้ง ที่เครือญาติคนรู้จักยังได้ประโยชน์อย่างมหาศาลอยู่เช่นเดิม
51875527205_830fea99c6_o
อ่าน

แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน

11 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.00 น. ตัวแทนองค์กรภาคประชาชนชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการตรวจสอบภาษีในองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลชุดนี้มาตลอด เป็นการตรวจสอบที่เรียกว่า ล้วงลูกทั้งที่เป็นอำนาจของสรรพากรและไม่ใช่อำนาจของสรรพากร
quorum-busting in numbers
อ่าน

เปิดสถิติ “สภาอับปาง” ล่ม 15 ครั้งภายใน 3 ปี ยิ่งรัฐบาลขัดแย้ง ยิ่งล่มบ่อย

สภาที่มาจากการเลือกตั้งชุดแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ 2560 ประสบปัญหา "สภาล่ม" อยู่บ่อยครั้ง นับตั้งแต่การเลือกตั้งในเดือนมีนาคม 2562 จนถึงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมรัฐสภา "ล่ม" ไปแล้วรวมกันถึง 15 ครั้ง ย้อนดูสถิติสภาล่มที่แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง โดยเฉพาะในขั้วรัฐบาล
What is quorum-busting?
อ่าน

สภาล่มคืออะไร? ตอบคำถามคาใจสภาอับปาง

นับตั้งแต่สภาชุดปัจจุบันที่มาจากการเลือกตั้งเข้าทำหน้าที่ในช่วงต้นปี 2562 เกิดเหตุการณ์ “สภาล่ม” ไปแล้วถึง 15 ครั้ง และยิ่งในช่วงที่รัฐบาลภายใต้การนำของพรรคพลังประชารัฐกำลังสั่นคลอนจากปัญหาความขัดแย้งภายในพรรค เหตุการณ์สภาล่มก็ยิ่งเกิดถี่ขึ้นเรื่อย ๆ ชวนทำความรู้จักว่าสภาล่มคืออะไร การไม่แสดงตนคืออะไร ฝ่ายค้านใช้สภาล่มได้อย่างไร และผลของสภาล่มคืออะไร
Parliament failed to reach a quorum
อ่าน

สภาล่มครั้งที่ 15! ส.ส.รัฐบาล รักษาองค์ประชุมไม่ได้

หลังจากตั้งแต่ที่เปิดปี 2565 มาจนถึงการประชุมวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 การประชุมของสภาผู้แทนราษฎรล่มไปแล้ว 3 ครั้ง และหากนับตั้งแต่สภาผู้แทนราษฎรชุดนี้เริ่มทำงานหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี 2562 มีถึง 15 ครั้งที่องค์ประชุมสภาไม่ครบ
the dire fate of clans in Palang Pracharat
อ่าน

หมดพลัง ไร้ขุนพล: ชะตากรรมของกลุ่มก๊วนในพรรคพลังประชารัฐ

พลังประชารัฐต้องผ่านความขัดแย้งมาหลายยก มีหลายคนต้องลาจากพรรคไปพร้อมกับความแค้นสุมอก บางคนต้องเสียตำแหน่งผู้แทน และอีกหลายคนแม้จะยังอยู่ในพรรค แต่ความไม่พอใจก็สั่งสมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนพร้อมจะระเบิดออกมาเป็นศึกระลอกใหม่ได้อีก และนี่คือชะตากรรมของกลุ่มต่าง ๆ ในพรรคพลังประชารัฐในปัจจุบัน
IMG_7645
อ่าน

ทบทวนบทเรียนการรายงานข่าวกับการเคารพศักดิ์ศรีของผู้มีความหลากหลายทางเพศ

มูลนิธิมานุษยะและเครือข่ายจัดเวทีพูดคุยเรื่อง  "LGBTQI ในสื่อ : สื่อสารด้วยความเข้าใจและเท่าเทียม” เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจสื่อในการจัดการกับการใช้ภาษาที่เลือกปฏิบัติต่อบุคคล กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในสื่อ
61205429_10161974750390551_2359147607806181376_o
อ่าน

สรุปประเด็นการโต้เถียงในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรสองวัน

ตลอดการประชุมสภาผู้แทนราษฎรสองวัน มีประเด็นถกเถียงกันอย่างดุเดือดอย่างน้อย 4 ประเด็น ได้แก่ 1) ส.ส.พลังประชารัฐ ประท้วงห้ามธนาธรกล่าวในที่ประชุม 2) ส.ส. เพื่อไทยและอนาคตใหม่ประท้วงเลื่อน/ไม่เลื่อน ประชุมสภา 3) ส.ส. พลังประชารัฐประท้วง ห้ามผู้ถูกเสนอเป็นรองประธานสภาแสดงวิสัยทัศน์ร 4) ส.ส.เพื่อไทยและอนาคตใหม่ประท้วง กรณีการนับคะแนนบัตรเสียและการถ่ายคลิปวิดีโอ