Law is waiting to reform
อ่าน

TDRI กับข้อเสนอปฏิรูประบบกฎหมาย ‘ล้าหลัง-ล้นเกิน’ สร้างภาระ 2 แสนล้าน

TDRI เทียบระบบราชการไทยกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ โดยกล่าวถึงสิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ รัฐไทยมีขีดความสามารถในการรับมือกับภาวะวิกฤติต่างๆ ลดลง เพราะความไม่มีประสิทธิภาพของระบบราชการ ที่เปรียบเสมือน “ระบบปฏิบัติการ” ของประเทศ เป็นระบบที่ตอบสนองช้า มีชุดคำสั่งหรือกฎหมายล้าสมัย หรือมีข้อผิดพลาด (bug) มากทำให้ให้เกิดต้นทุนสูงต่อสังคม 
50135259228_059651323f_b
อ่าน

บันทึกการคุกคามนักกิจกรรม นักเคลื่อนไหว ก่อนเวทีรับฟังความคิดเห็นสร้างนิคมอุตสาหกรรมจะนะ

ก่อนและหลังการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นอุตสาหกรรมจะนะ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2563 มีประชาชนถูกเจ้าหน้าที่รัฐคุกคามโดยการเยี่ยมบ้าน และโทรหาอย่างน้อย 14 คน แบ่งเป็นเยี่ยมบ้าน 11 คน และโทรศัพท์สอบถาม 3 คน 
Submission Day
อ่าน

ผ่านไปหนึ่งปีเต็มที่ประชาชนยื่น ร่าง “ปลดอาวุธ คสช.” รัฐบาลเกียร์ว่าง สภายังไม่ได้เริ่มพิจารณา

ตลอดปี 2561- 2562 …
International Agreement Law
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว
See people
อ่าน

เปิดโครงการ “ส.ว.พบประชาชน” งบ 7 ล้าน เดินทางแล้ว 44 ครั้ง

แม้ว่าวุฒิสภาชุดที่ทำงานอยู่ในปี 2563 จะมีที่มาจากการคัดเลือกของ คสช. แต่เมื่อเริ่มเข้ารับตำแหน่งแล้วก็พบว่า พวกเขาไม่ได้เพียงทำงานอยู่ในห้องประชุมเท่านั้น แต่ยังมีกิจกรรมจำนวนมากที่สมาชิกทั้ง 250 คน ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเดินทางไปพบปะประชาชนในระดับพื้นที่โดยใช้งบประมาณจากภาษี  
02
อ่าน

“มีส่วนร่วมได้เท่าที่เขากำหนด” บทสรุปการมีส่วนร่วมยุคคสช.

ตลอดเกือบ 5 ปี ที่ประเทศต้องอยู่ภายใต้การปกครองของคสช. ดูเหมือนขอบเขตของการมีส่วนร่วมของประชาชนในมิติต่างๆ จะดูแคบลง เพราะ คสช. ต้องการจะผูกขาดอำนาจในการออกกฎหมายและนโยบาย ในขณะเดียวกันก็เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมได้เท่าที่ คสช. กำหนด หากล้ำเส้นมากไปกว่านั้น อำนาจรัฐจะเข้ามาจัดการกับประชาชนที่ไม่ยอมเชื่อฟัง
No Public Participation in Police Reform Forum
อ่าน

ไม่มีการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะสำหรับการปฏิรูปตำรวจ

6 กันยายน 2560 ไอลอว์ไปสังเกตการณ์เวทีการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิรูปตำรวจ โดยการรับฟังความคิดเห็นในครั้งนี้เรียกว่า 'ระยะแรก' ซึ่งเป็นการรับฟังเพื่อจัดทำรายงานข้อเสนอปฏิรูป โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้แทนองค์กรอิสระ นักวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรภาคประชาชนสังคม เป็นหลัก และการรับฟังในวันดังกล่าวมีเพียงผู้ทรงคุณวุฒิจากกลุ่มสื่อมวลชน จำนวนประมาณ 10-15 คน ซึ่งสะท้อนการมีส่วนร่วมที่เป็นไปอย่างจำกัด
Letter Submission
อ่าน

แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ

ขณะที่ภาครัฐกำลังเดินหน้าแก้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ด้านภาคประชาชนก็ห่วง ระบบ EIA ที่เดิมล้มเหลวอยู่จะถูกแก้ให้ถอยหลัง ไม่ก้าวหน้า แถมจะยัดคำสั่งตามมาตรา 44 ที่ให้ประมูลก่อน EIA ผ่าน เข้ามาอยู่ในร่างพ.ร.บ.นี้อีก จึงออกแถลงการณ์คัดค้าน
Fake Public Participation
อ่าน

เมื่อการรับฟังความคิดเห็นเป็นเพียงพิธีกรรมของรัฐ

การจัดเวทีเปิดรับฟังความคิดเห็นประกอบการร่างกฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นตัวอย่างที่สำคัญเกี่ยวกับ 'คุณภาพ' การรับฟังความคิดเห็นที่จัดโดยหน่วยงานรัฐ เนื่องจากการรับฟังดังกล่าวไม่มีตัวแทนประชาชน อีกทั้งไม่มีเวลาในกำหนดการให้ประชาชนเข้าไปแสดงความคิดเห็น ซึ่งนั้นสะท้อนให้เห็นว่า แนวทางที่รัฐบาลกำหนดไว้อาจจะไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานสากล