International Agreement Law
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว
49804739703_d824f769ab_o
อ่าน

การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”

นุชนารถ แท่นทอง ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัมสี่ภาค มองวิกฤติโควิดส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนจนเมืองและคนไร้บ้าน ทั้งภาวะความเครียด หนี้สิน และปัญหาปากท้อง รวมไปถึงปัญหาเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาที่ไม่ตรงจุด ล่าช้า ไม่ทันท่วงที อันเกิดจากรัฐธรรมนูญที่มีกรอบเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งส่งผลให้การบริหารงานในวิกฤติครั้งนี้ปราศจากการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ประสบปัญหา
49776278991_15244f5f45_o
อ่าน

วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60

ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม
IMG_7619
อ่าน

ประชาชนขยับ จี้รัฐบาลต้องแก้ไขฝุ่น PM2.5 อย่างยั่งยืน เปิดให้ประชาชนร่วมกำหนดนโยบายจัดการฝุ่น

23 มกราคม 2563 ภาคประชาสังคมนำโดยกรีนพีซ ประเทศไทย, มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม, มูลนิธิบูรณะนิเวศ, มูลนิธิชีววิถี (BIOTHAI), มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค, Friend Zone และ Climate Strike Thailand จัดกิจกรรม “พอกันที ขออากาศดีคืนมา” เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลลงมือทำเพื่อปกป้องสุขภาพของประชาชนจากวิกฤตฝุ่น PM2.5 โดยดำเนินมาตรการที่สอดคล้อง มีประสิทธิภาพ ยั่งยืนและเป็นธรรม รวมถึงการยกระดับมาตรฐานปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้เข้มงวด ตลอดจนการปฏิรูปนโยบายสิ่งแวดล้อม เช่น กฎหมายอากาศสะอาด กฎหมายทำเนียบการเคลื่อนย้ายและปลดปล่อยมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม
6-เรื่องตลกร้ายของรัฐธรรมนูญ-2560(ปก)
อ่าน

6 เรื่องตลกร้ายของรัฐธรรมนูญ 2560

รัฐธรรมนูญ 2560 คือรัฐธรรมนูญปัจจุบันของประเทศไทย เป็นฉบับที่ 20 จัดทำโดย คสช. บังคับใช้ตั้งแต่ 6 เม.ย. 60 นับถือ 10 ธ.ค. 61 เป็นเวลาประมาณ 1 ปี 9 เดือนที่รัฐธรรมนูญบังคับใช้ เนื่องในวันรัฐธรรมนูญปี 2561 ไอลอว์รวบรวมเรื่องราวตลกร้ายที่อยากจะขำแต่ขำไม่ออกเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้มาให้ทราบกัน
20 years history
อ่าน

20 ปี สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ความฝันที่ยังไม่สลายของการมีส่วนร่วมทางตรง

ถอดบทเรียนระยะเวลากว่า 20 ปี ตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ทีประชาชนสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ร่างพ.ร.บ.กว่า 50 ฉบับถูกเสนอมาแล้ว  ถึงผลสุดท้ายจะสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง แต่ก็มีพัฒนาการมาเรื่อยๆ เพื่อให้การใช้สิทธิง่ายขึ้น เป็นไปได้มากขึ้น   
Participation Channel
อ่าน

รัฐธรรมนูญ 2560 ให้เรามีส่วนร่วมเรื่องอะไรได้บ้าง

รัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบัน เขียนคำว่า "มีส่วนร่วม" ไว้ถึง 22 ครั้ง รวมทั้งบังคับใช้รัฐต้องรับฟังประชาชนและให้มีส่วนร่วมด้วยในหลายประเด้น ในความเป็นจริงประชาชนส่วนใหญ่ก็ยังไม่ค่อยรู้ว่า ตัวเองมีสิทธิที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในเรื่องใดบ้าง   
76BA3BED-FB1C-4501-B311-EFC9A1B9837B
อ่าน

หลักเกณฑ์ ร่าง พ.ร.บ. รับรองเพศยังไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา

ล่าสุด ร่าง พ.ร.บ. การรับรองเพศ พ.ศ. … ยังอยู่ในกระบวนการรับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้-เสีย คาดว่าอาจมีการทำประชาพิจารณ์ฟังเสียงประชาชนปี 61-62 นักกิจกรรม ชี้ หลักเกณฑ์การรับรองเพศไม่ยึดโยงเจ้าของปัญหา เสนอแนะให้ร่างพ.ร.บ.การรับรองเพศควรรวดเร็ว-โปร่งใส–ง่ายต่อการเข้าถึง-มีกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน  
who pass the law 1
อ่าน

รายงานปี 2559 “ช่องทางออกกฎหมายผูกขาด-ขาดการมีส่วนร่วม”

ที่ผ่านมาการออกกฎหมายทั้งโดย สนช.และใช้คำสั่ง คสช.ตามมาตรา 44 คือความ 'เงียบ'  ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ในขั้นตอนการออกกฎหมายที่แทบจะไม่มีเสียงหรือเจตนารมณ์ของประชาชนสะท้อนอยู่ในนั้นเลย สะท้อนผ่านจำนวนปริมาณกฎหมายจำนวนมากที่ยังมีเสียงคัดค้านอยู่