52231112436_73fbca9ee1_o
อ่าน

#ปล่อยเพื่อนเรา มีนักโทษการเมือง 30 คนในเรือนจำ

จนถึงวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 30 คน นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่ หลังการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกในปี 2563 การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ครั้งนี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563, เดือนกุมภาพันธ์ 2564, เดือนสิงหาคม 2564 และเดือนมีนาคม 2565 ในเดือนเมษายน 2565 มีการไต่สวนเพิกถอนสัญญาประกันของผู้ต้องหาคดีมาตรา 112 ทั้งสิ้น
51875527205_830fea99c6_o
อ่าน

แจงปรากฏการณ์ใช้สรรพากร คุกคามภาคประชาชน-ขอตรวจภาษีแต่ล้วงลูกถึงเนื้อหา-การจ้างคน

11 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.00 น. ตัวแทนองค์กรภาคประชาชนชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการตรวจสอบภาษีในองค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชนและวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลชุดนี้มาตลอด เป็นการตรวจสอบที่เรียกว่า ล้วงลูกทั้งที่เป็นอำนาจของสรรพากรและไม่ใช่อำนาจของสรรพากร
14NOV
อ่าน

รวมข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากการชุมนุม ในปี 2564

  เปิดข้อมูลผู้บาดเจ็บจากเหตุปะทะในการชุมนุมตลอดปี 2564 พบผู้บาดเจ็บ 528 คน เป็นตำรวจ 146 นาย ผู้ชุมนุมเสียชีวิต 1 คน ตาบอด 2 คน เป็นนักข่าวบาดเจ็บ 29 คน ส่วนใหญ่จากเหตุปะทะดินแดง และโดนกระสุนยางยิงแบบขัดหลักสากล      จากการรวบรวมข้อมูลผู้บาดเจ็บจากการสังเกตการณ์ของเว็บไซต์ Mobdatathailand.org และโครงการ Child in Mob, ข
51485508738_3fa098987a_k
อ่าน

“…ถ้าเด็ก 13 14 ที่ถูกพวกคุณวิ่งไล่ยิงไล่กระทืบเป็นลูกพวกคุณบ้าง จะรู้สึกยังไง” เสียงจากเบนท์ สมรภูมิดินแดง

ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดงถูกขนานนามโดยใครหลายคนว่าเป็นสมรภูมิ พื้นที่ปะทะและประลองกำลังกันระหว่าง “ผู้ชุมนุมต่อต้านพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา” กับ “ตำรวจชุดคุมฝูงชน” บทสรุปของการปะทะเกือบทุกครั้งจบลงด้วยการสลายการชุมนุมโดยตำรวจ เริ่มต้นด้วยการเขย่าเส้นความอดทนของตำรวจด้วยการใช้ประทัดยักษ์ พลุ ระเบิดเพลิง หรือขวดแก้วตามแต่จะหยิบฉวยได้ปาใส่แนวคอนเทนเนอร์หลายครั้ง ด้วยแนวสิ่งกีดขวางและระยะห่างของตำรวจก็ยากที่จะทะลุทะลวงอุปกรณ์ป้องกันของฝ่ายรัฐที่มีทั้งโล่ ชุดเกราะ แต่ทุกครั้งจบด้วยแก๊สน้ำตา กระสุนยางและอุปกรณ์อื่นๆ ในความครอบครองของเจ้าหน้าที่ควบคุมฝูงชนที่ถูกประเคนคืนกลับมาในฐานะ “กา
238416598_536538260988559_327197987477295369_n
อ่าน

“เขาจะเอาเราให้ตายเลยพี่ เขาขู่ผมว่าถ้าไม่หยุดมึงตายนะไอ้อ้วน” เสียงจากแป๊ะ สมรภูมิดินแดง

“ถ้าเรามาเพื่อป่วนเมือง เราคงทุบเละหมดแล้ว ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สินของเอกชนหรือของรัฐ แต่ที่ผ่านมาเป้าหมายเราชัดเจนคือสู้กับรัฐเท่านั้นโดยไม่เคยไปแตะต้องทรัพย์สินเอกชน”“แป๊ะ” สันติภาพ อร่ามศรี
50516079971_01f90b2a59_c
อ่าน

ศาลแพ่งยกคำร้องขอคุ้มครองชั่วคราวและไต่สวนฉุกเฉิน แต่คดีเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงยังไม่สิ้นสุด

วันนี้ (22 ตุลาคม …
50511411538_b54af704d8_c
อ่าน

สรุปคำฟ้อง เพิกถอนสถานการณ์ฉุกเฉิน ยื่นโดยนิสิต นักศึกษา

วันนี้ (21 ตุลาคม 2563) เวลาประมาณ 10.30 น. นิสิต นักศึกษาจำนวน 6 คน พร้อมด้วยเครือข่ายทนายความสิทธิมนุษยชน ได้เดินทางไปยื่นฟ้องต่อศาลแพ่ง รัชดา เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งเพิกถอนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง รวมทั้งประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมด และยื่นขอคุ้มครองชั่วคราวพร้อมทั้งขอไต่สวนฉุกเฉิน
Movie Review_Thumbnail-The Post
อ่าน

The Post: เพราะสื่อ…ไม่ใช่เครื่องมือของรัฐ

iLaw’s Movie Pick เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ไอลอว์อยากเปิดพื้นที่ให้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ จึงได้จัดกิจกรรมให้คนทั่วไปส่งผลงาน "รีวิวหนัง" เข้ามาแชร์กัน
WH
อ่าน

ไวรัสอู่ฮั่น อีกเหตุผลที่เราต้องรักษาเสรีภาพ

ไม่ใช่ครั้งแรกที่จีนแสดงท่าทีปกปิดข้อเท็จจริงหรือจำกัดเสรีภาพการแสดงออกเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรค แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในครั้งการแพร่ระบาดของโรคซาร์สเมื่อปี 2545 การแพร่ระบาดของไวรัสในระบบทางเดินหายใจทั้งสองครั้งกลายเป็นอีกหนึ่งเหตุผลว่า ทำไมเราต้องปกป้องเสรีภาพในทุกด้านของมนุษย์ทุกคน