51270987769_c6339aaac3_k
อ่าน

“นายกฯ ต้องมาจากการเลือกตั้ง” ความฝันไล่เผด็จการของคนพฤษภาฯ 35

หากมองย้อนไปในประวัติศาสตร์ ข้อเสนอให้นายกฯ ต้องมาจาก ส.ส. หรือการระบุ ให้นายกฯ มาจากการเลือกตั้ง เป็นการต่อสู้และการผลักดันของประชาชน ที่ต้องแลกมาด้วยความสูญเสียในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ปี 2535 ดังนั้น การที่รัฐธรรมนูญ ปี 2560 ปฏิเสธหลักการดังกล่าว และการที่บรรดา ส.ว.แต่งตั้ง ปัดตกข้อเสนอเพื่อยืนยันหลักการดังกล่าว จึงไม่ใช่แค่การหมุนทวนเข็มนาฬิกาให้ประเทศถอยหลัง แต่ยังเป็นการแสดงความไม่เคารพต่อความฝัน เลือดเนื้อ และชีวิตของวีรชนที่จากไป
3 Steps Vote of No-Confident
อ่าน

3 ขั้นตอน วิธีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

31 มกราคม 2563 หกพรรคฝ่ายค้านยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีหกคน โดยคาดว่าจะมีการอภิปรายไม่ไว้วางใจในวันที่ 19-23 กุมภาพันธ์ ซึ่งระหว่างนั้นนายกรัฐมนตรีจะยุบสภาไม่ได้ จากนั้นจะเว้นการประชุมสภาไว้ 1 วัน จึงกลับมาลงมติได้ ถ้ารัฐมนตรีคนใดถูก ส.ส.เกินครึ่งสภาลงมติไม่ไว้วางใจ ต้องพ้นจากตำแหน่ง
ประชุมสภาสมัยที่สอง
อ่าน

เปิดประชุมสภาสมัยที่สอง: ฝ่ายค้านดันแก้รัฐธรรมนูญ-ศึกษาผลพวงรัฐประหาร

6 พฤศจิกายน 2562 เป็นวันนัดประชุมครั้งแรกของสภา ส.ส. ในสมัยประชุมสามัญครั้งที่สอง ในการประชุมครั้งแรกมีญัตติที่น่าสนใจอย่างน้อย 3 เรื่อง ได้แก่ การขอตั้ง กมธ. ศึกษาผลกระทบจากการใช้ประกาศ และคำสั่งของ คสช. ขอตั้ง กมธ. วิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์ และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 2560 และ ขอตั้ง กมธ.วิสามัญพิจารณาเรื่องการทำร้ายนักกิจกรรม 
พระราชกำหนด 101: ทำความรู้จักกฎหมายในมือรัฐบาล
อ่าน

พระราชกำหนด 101: ทำความรู้จักกฎหมายในมือรัฐบาล

17 ตุลาคม 2562 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรนัดพิจารณาอนุมัติพระราชกำหนดโอนอัตรากำลังพลฯ ทำไมสภาผู้แทนราษฎรถึงต้องพิจารณาพระราชกำหนด แล้วพระราชกำหนดนั้นแตกต่างจากพระราชบัญญัติอย่างไร จะขอสรุปไว้ในบทความนี้
48912636171_605330d3bf_o
อ่าน

สภาเห็นชอบ พ.ร.ก.โอนอัตรากำลังพลฯ ด้านอนาคตใหม่ค้าน กังวลใช้อำนาจเหมือน ม.44

ส.ส. ได้ลงคะแนนเพื่ออนุมัติ พ.ร.ก.โอนอัตรากำลังพลฯ ซึ่งผลการลงมติมีคะแนนเสียง เห็นชอบ 376 เสียง  ไม่เห็นชอบ 70 เสียง งดออกเสียง 2 เสียง มีผู้เข้าร่วมประชุมสภาฯทั้งหมด 444 คน ในระหว่างการพิจารณา ปิยบุตร แสงกนกกุล ส.ส.พรรคอนาคตใหม่ ได้อภิปรายไม่เห็นชอบการออก พ.ร.ก.ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่า ไม่เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่วนที่ ค.ร.ม. จะออก พ.ร.ก.ฉบับนี้ ซึ่งถือว่าไม่เป็นไปตาม ร.ธ.น.มาตรา 172 วรรคสอง
30 Democracy organisation support politician to form Constitutional committee
อ่าน

ครป. และ 30 องค์กรประชาธิปไตย สนับสนุน ส.ส. ฝ่ายค้าน ตั้ง กมธ. รัฐธรรมนูญ ในการประชุมสภาสมัยหน้า

30 กันยายน 2562) ครป. ร่วมกับเครือข่ายภาคประชาชน และพรรคการเมือง จัดเวที เรื่อง "การปฏิรูปสังคม-เศรษฐกิจ-การเมืองไทย กับการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตย" ภายหลังการประชุม ครป. เสนอให้ทำหนังสือเรียกร้องกับพรรคการเมืองทุกพรรคและวุฒิสภา(ส.ว.) ให้ดำเนินการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ และข้อเสนออื่นๆ อีก 3 ข้อ  
-วีระ-060619
อ่าน

มองฝุ่นตลบในสภาอย่างมีทางออก กับ ดร.วีระ หวังสัจจะโชค

หลังการเลือกประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 24 – 25 พ.ค. 2562 ที่ผ่านมา ทำให้คนติดตามการเมืองมองว่าสภาจะเต็มไปด้วยความวุ่นวาย  แต่ด้วยความต้องการมองหา ‘ความหวัง’ ในฝุ่นตลบทางการเมือง เราจึงไปพูดคุยกับ ดร.วีระ หวังสัจจะโชค แห่งคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าเรามองเห็นอนาคตทางการเมืองจะเป็นแบบไหน